วัคซีนคืออะไร
ReadyPlanet.com
วัคซีนคืออะไร

ในบทความก่อนหน้าได้พูดถึงเรื่องวัคซีนป้องกันการติดเชื้อแอโรโมนาสประกอบกับช่วงนี้มีคนรู้จักของหมอสอบถามเรื่องการฉีดวัคซีนป้องกันพิษโรคสุนัขบ้า (Rabies) ในสุนัขและแมวเข้ามากันมาก (ความจริงแล้วโรคพิษสุนัขบ้าไม่ได้ก่อให้เกิดการติดเชื้อเฉพาะในสุนัขเท่านั้น แต่สามารถก่อให้เกิดโรคได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดและอาการของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ติดเชื้ออาจไม่ได้แสดงอาการคลุ้มคลั่งหรือบ้าอย่างเดียวเหมือนที่ชื่อบอกไว้เท่านั้นอาจพบลักษณะของสัตว์ที่แสดงอาการแบบเซื่องซึมได้) ทำให้อยากจะเล่าคร่าวๆ ให้ผู้อ่านทราบกันว่าวัคซีน (vaccine) คืออะไรก่อนที่จะรู้จักวัคซีน ขอแนะนำให้ผู้อ่านรู้จัก คำว่า แอนติเจน (antigen) กับ แอนติบอดี (antibody) ก่อนดีกว่า

แอนติเจน คือสาร/สิ่งแปลกปลอมหรือสารที่เข้าไปในร่างกายทั้งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตแล้วกระตุ้นให้ร่างกายเกิดปฏิกิริยาตอบสนองทางภูมิคุ้มกันกระตุ้นให้เกิดแอนติบอดีขึ้นได้ และ แอนติบอดี คือสารที่ร่างกายสร้างขึ้นเพื่อมาตรวจจับ ทำลายฤทธิ์ต่อต้านสาร/สิ่งแปลกปลอมที่เข้าไปในร่างกายนั้นโดยแอนติเจนเป็นสารประเภทโปรตีน นะคะ

สำหรับ วัคซีน ก็คือสารหรือแอนติเจนที่ได้จากเชื้อหรือส่วนประกอบของเชื้อและเตรียมขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์ในการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อแอนติเจนนั้นโดยอาศัยกลไกต่างๆ วัคซีนจะทำให้ร่างกายเกิดการสร้างภูมิคุ้มกันที่จำเพาะต่อเชื้อโรค หรือส่วนของเชื้อโรคที่นำมาผลิตเป็นวัคซีน

นอกจากนี้วัคซีนยังกระตุ้นให้ระบบภูมิคุ้มกันสามารถจดจำแอนติเจนของเชื้อโรคดังกล่าวด้วยทำให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายสามารถตอบสนองได้อย่างรวดเร็วเมื่อมีการติดเชื้อซ้ำ หากไม่เคยได้รับการกระตุ้นมาก่อนต้องใช้เวลาหลายวันในกรณีที่เชื้อก่อโรคมีความรุนแรงสูงการกระตุ้นภูมิคุ้มกันอาจไม่ทันต่อการป้องกันโรคดังนั้นเมื่อร่างกายมีการติดเชื้อภายหลังจากการได้รับวัคซีนระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะรับรู้ว่าเป็นเชื้อโรคได้เร็วขึ้น

และมีกลไกทำลายเชื้อโรคต่อไปซึ่งวัคซีนที่ดีในอุดมคตินั้นต้องสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อต้านเชื้อโรค มีความจำเพาะต่อแอนติเจนของเชื้อและภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นคงอยู่ได้ยาวนานแม้ว่าจะให้วัคซีนเพียงครั้งเดียวก็ทำให้ร่างกายสามารถมีภูมิคุ้มต่อโรคได้ตลอดชีวิต เมื่อให้ไปแล้วปลอดภัยต่อร่างกายหรือมีผลข้างเคียง (side effect) จากการได้รับวัคซีนน้อย วิธีการให้วัคซีนต้องไม่ยุ่งยากราคาวัคซีนไม่แพง ตัววัคซีนเสื่อมคุณภาพช้า มีอายุการใช้ยาวนานและเก็บรักษาได้ง่ายเหล่านี้ล้วนเป็นวัคซีนในฝันของบุคคลากรทางการแพทย์แต่ในสภาพความเป็นจริงแล้ว วัคซีนที่ผ่านการควบคุมคุณภาพประสิทธิภาพ และมีมาตรฐานการผลิตและได้ออกขายในท้องตลาดอาจไม่มีคุณสมบัติทั้งหมดครบถ้วนตามอุดมคติได้ ดังนั้นบุคลากรทางการแพทย์ผู้ใช้วัคซีนจะต้องรู้คุณสมบัติวิธีการให้และเก็บรักษาวัคซีนอย่างถูกต้องเพื่อให้สามารถนำวัคซีนมาใช้กระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงที่สุดรวมทั้งสามารถให้ข้อแนะนำผู้เลี้ยงสัตว์ภายหลังจากที่ได้รับวัคซีนอย่างถูกต้องเพื่อประโยชน์ในการใช้วัคซีนกระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย

สัตวแพทย์หญิง ดร.มินตรา ลักขณา (หมอเม)
อ.น.สพ.ดร. ภัทรพล เปี่ยมสมบูรณ์ (หมอเอก) 

 

 

Vaccine, what is it?

We’ve talked about Aeromonas vaccine on the previous topic. However, many people have recently asked us about “Rabies” vaccination in dog and cat. Important, rabies not only appears in dog and cat, it can cause disease in all mammals such as rat, bat, cow, and also human, so be careful. This week, we will be explaining to you of “What is vaccine?”

First of all, you must understand the words “Antigen” and “Antibody”. They are both associated with vaccine. Antigens are foreign, protein-base materials, dead or alive that enter the body and activate immune response, while Antibodies are produced by the body, responding to the invading antigens. Antibodies are designed for attach, neutralize and eliminate those antigens.

So, vaccines are “antigens” derived from a part, or the whole component of bacteria or viruses (pathogens). Vaccine is given to animal or humans to activate the production of “antibody” specific to a particular pathogen. Vaccine will also make the body “memorize” those particular pathogen, so, on the next invasion, the immune response will eliminate the pathogen faster and much more efficient. If vaccine is not given, it would take too slow for the body to produce enough immunity to prevent disease. That why vaccines are necessary for those harmful diseases.

The ideal vaccine should be able to induce long-lasting immunity, even a single shot is given (life-time immunity is the most ideal!). The ideal vaccine should have minimal side effect, the better if there is no side effect at all. They should not be expensive and the way of taking vaccine should be simple. A good vaccine should have long shelf-life and easy to store. These are the characteristics of a perfect vaccine. However, real-life commercially available vaccines are not perfect. Therefore, user must understand the limitation of each vaccine, how to apply them and how to store them, so the vaccine can be used in the most effective way.

Mintra Lukkana, DVM, MSc, PhD

Pathradol Piamsomboon , DVM , PhD




  

 




Farm story

วิตามินซีคนทานได้ ปลากินดี
งานวิจัย ขิง กับ ยากำจัดวัชพืช
โปรไบโอติกแบบ multi-species
ขมิ้นชันในอาหารปลานิล
อาหารสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ปลาเสมือนจริงทดแทนการใช้สัตว์ทดลอง
การใช้สมุนไพรเป็นยาสลบกับปลาเรนโบว์เทราต์
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (3/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (2/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (1/3)
ความสัมพันธ์ของพยาธิตืดในปลากับแบคทีเรียตัวร้าย
โปรตีนจากเคยและการเลี้ยงกุ้ง
Nutraceuticals และการรักษาโรค AGD ในปลาแซลมอน
การป้องกันดีกว่าการรักษา วัคซีนคุณภาพ หยุดการระบาดของโรคสัตว์
nanobubbles และการเพาะเลี้ยงกุ้ง
nanobubbles
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #2
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #1
ยีสต์ทำขนมปังกับโปรไบโอติก
จุลินทรีย์ในลำไส้ปลา
ผลกระทบของ Covid19 ต่อตลาดปลาเทอร์บอตและคาเวียร์ของสหภาพยุโรป
โปรตีนทางเลือกกับปัญหาโรค EMS ในการเลี้ยงกุ้ง
"แมลงกับอุสาหกรรมอาหารสัตว์เลี้ยง"
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #10
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #9
การสนับสนุนความยั่งยืนในการประมง
กระแสความต้องการประมงยั่งยืน โอกาสและความท้าทายสำหรับปลานิล
African swine fever
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #8
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #7
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #6
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #5
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #4
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #3
พืชสมุนไพรกับสุขภาพปลา
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #2
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #1
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE
ปลาแซลมอน ในอาร์เจนตินา
โปรตีนทางเลือก
กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนประชาคมระหว่างประเทศในการพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ และสวัสดิภาพสัตว์น้ำของ OIE
ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ของ OIE
อาหารในโลกอนาคต
โปรไบโอติก Bacillus pumilus กับวิบริโอ
probiotic กับสารสกัดอินทผลัม
การยึดเกาะของโปรไบโอติก
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่งและเรื่องที่ควรทำหลังขนส่ง
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (1)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (1)
“อาหารปลอดภัย” “สิ่งแวดล้อม” “สวัสดิภาพสัตว์” กับการเลี้ยงสัตว์ปัจจุบัน
เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว Bio-Circular-Green Economy : ภาคการเกษตร
การให้ probiotic ชนิด Bacillus cereus และ Bacillus subtilis ผสมอาหารปลานิล ที่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโต สุขภาพของลำไส้ และความต้านทานต่อการติดเชื้อ Streptococcus agalactiae
การใช้ probiotics prebiotics และ synbiotics ในปลานิล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโต และการป้องกันการติดเชื้อ Aeromonas hydrophila
ปลานิลและซินไบโอติก
ปลาเทราต์กับซินไบโอติก
การฆ่าเชื้อโรคอุปกรณ์ส่วนตัว และน้ำ
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (3)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
วัคซีน Covid-19 หนึ่งในวิธีป้องกันโรค
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรคกรณีฉุกเฉิน และการเลือกใช้สารฆ่าเชื้อ
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรค ในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์
ซินไบโอติกกับแบคทีเรียประจำถิ่นในลำไส้กุ้งกุ้ง
ซินไบโอติกกับภูมิคุ้มกันของกุ้ง
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
คำแนะนำสำหรับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิวไข่ปลาแซลมอน
การประเมินโปรไบโอติก
การควบคุมเพศในสัตว์น้ำผ่านการจัดการชุดโครโมโซม
แอบดูจีนเลี้ยงกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำความรู้จัก…เปปไทด์ต้านจุลชีพ
โลกยุค 4.0 กับการเฝ้าระวังโรค
วิเคราะห์ข่าว หมู ไก่
อาหารสัตว์และเรื่องของสารพิษจากเชื้อรา
ซินไบโอติก (Synbiotics) สำหรับสัตว์น้ำ
ระบบนิเวศของแบคทีเรียในบ่อกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำไมสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์จึงไม่มีรายงานความเสี่ยงต่อไวรัส COVID-19
น้องใหม่ตัวร้ายไวรัสในกุ้ง Decapod Iridescent Virus 1 (DIV1)
ต้านวิบริโอด้วยโปรไบโอติก
ก้งุ โปรไบโอติก การเจริญเติบโต การย่อยอาหาร
แมงดากับงานด้านการแพทย์
คาเวียร์ ไข่จากปลาที่ใกล้สูญพันธุ์
การตรวจโรคทางห้องปฏิบัติการและการนำไปใช้
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (2)
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (1)
ระบบข้อมูลสุขภาพสัตว์โลก
น้ำปลา ความอร่อยจากอดีตสู่ยุคใส่ใจสุขภาพ
โรคอุบัติใหม่ในสัตว์น้ำของประเทศไทยในอดีต
โรคอุบัติใหม่ไม่ไกลตัว Novel Coronavirus
เรื่องกุ้งกับโปรไบโอติก (2)
ความสำคัญของการรายงานการระบาดของโรคกับสุขภาพสัตว์น้ำ
ยกระดับ from farm-to-table ด้วยสี่เสาหลักด้านคุณภาพ
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (2)
คู่มือป้องกัน โรคโควิด-19
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (1)