วัคซีนสำหรับโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย
ReadyPlanet.com
วัคซีนสำหรับโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย

ครั้งก่อนนี้พูดถึงวัคซีนในอุดมคติไปบ้างแล้วแต่ก็อย่างที่ทราบว่าเป็นไปได้ยากที่จะมีวัคซีนในอุดมคติมาให้ใช้เพื่อป้องกันโรคได้ง่ายๆ ทั้งนี้การที่จะเลือกวัคซีนอะไร แบบไหนมาใช้ ควรจะต้องให้ความสำคัญกับกลไกการควบคุมโรคว่าร่างกายสัตว์มีกลไกของระบบภูมิคุ้มกันแบบไหนที่ใช้ในการควบคุมป้องกันการติดเชื้อโรค นอกจากนี้ ควรต้องรู้ว่าเชื้อก่อโรคแต่ละชนิดมีวงจรการก่อโรคเป็นอย่างไร อวัยวะเป้าหมายของเชื้อคืออวัยวะใด เชื้อเข้าไปอยู่ในส่วนไหนของร่างกาย เมื่อเข้าไปสู่ร่างกายแล้วเชื้อสามารถแพร่กระจายไปทั่วร่างกายได้หรือคงอยู่เฉพาะบางส่วน/บางบริเวณของร่างกายต้องทราบว่าเชื้อมีการผลิตสารอื่นที่มีผลกับร่างกายอย่างไรบ้าง (endotoxin หรือ exotoxin) รวมถึงกระบวนการหลบเลี่ยงการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันจะทำให้สามารถประเมินกระบวนการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันได้เบื้องต้น ภูมิคุ้มกันแบบไหนที่มีผลต่อการป้องกันการเกิดโรคได้ ทั้งนี้ในการเลือกวัคซีนสำหรับป้องกันโรคก็ควรทราบหลักการข้างต้นเบื้องต้นเพื่อช่วยในการพิจารณาเลือกใช้วัคซีนทั้งที่ผลิตขึ้นมาจากเชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวรัส ในส่วนของการติดเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ภายนอกเซลล์โฮสต์ (extracellular bacteria) เชื้อจะอยู่ภายนอกเซลล์และเจริญเติบโตเพิ่มจำนวน หลั่งสารพิษทำลายเซลล์เจ้าบ้านดังนั้นคุณสมบัติของวัคซีนป้องกันโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียจะเริ่มต้นโดยแอนติเจนของแบคทีเรียวัคซีนซึ่งส่วนใหญ่เป็น polysaccharide, peptidoglycan เข้าสู่ร่างกายแล้วไปกระตุ้นกลไกการตอบสนองของระบบทางภูมิคุ้มกันของร่างกายให้เซลล์กลุ่มที่มีหน้าที่เก็บกินเชื้อโรค (phogocytic cell) ที่อยู่ในบริเวณที่ฉีดวัคซีนซึ่งมีการอักเสบผลิตสารไซโตไคน์ชนิดต่างๆ เช่น cytokine IL-1, IL-6, IL-8 และ TNF- α เพื่อส่งสัญญาณให้เซลล์เม็ดเลือดขาวเข้ามาในบริเวณที่อักเสบจากนั้นจะมีการกระตุ้นการทำงานอย่างต่อเนื่องของเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันเป็นทอดๆ มีการกระตุ้นให้เซลล์เม็ดเลือดขาว ชนิด B cell พัฒนาไปเป็น plasma cell และผลิตแอนติบอดีที่มีความจำเพาะกับแอนติเจนออกมา แอนติเจนจากวัคซีนเมื่อถูกเซลล์ของระบบภูมิคุ้มกันย่อยทำลาย ส่วนของแอนติเจนที่เกิดขึ้นจะไปกระตุ้นให้เซลล์เม็ดเลือดขาวทำงานเก็บกินเชื้อโรคต่อไป จนกว่าแอนติเจนจะถูกกำจัดไปท้ายที่สุดร่างกายจะมีการพัฒนาของเซลล์เม็ดเลือดขาวบางชนิดที่มีส่วนในการทำให้ร่างกายสามารถใช้ในการตอบสนองต่อการได้รับแอนติเจนอย่างรวดเร็วต่อไปเมื่อได้รับเชื้อก็จะสามารถควบคุมความรุนแรงการระบาดของโรคได้

ที่เขียนมาก็เป็นความรู้คร่าวๆ ในเรื่องของวัคซีนสำหรับโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรียนะคะในครั้งถัดไปถ้าจะพูดถึงโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรียแล้วละก็ วัคซีนที่ใช้จะแตกต่างกันอย่างไรกรุณาติดตามอ่านกันต่อไปค่ะ

สัตวแพทย์หญิง ดร.มินตรา ลักขณา (หมอเม)
อ.น.สพ.ดร. ภัทรพล เปี่ยมสมบูรณ์ (หมอเอก) 

 

 

Vaccine for bacterial diseases

We’ve introduced you about “What is vaccine?” on the previous topic. This time, we will talk about vaccine used against bacterial diseases. First of all, farmer must have some basic understanding of how the immune system of the animal (in their farm) works. Farmers should also have some information about the disease. For example, what are target organs of the pathogen? The pathogen causes systemic or localize infection? Does the pathogen produce any toxin? Is the pathogen able to evade immune system? And, what kind of immunity does the

pathogen induce (cellular or humoral)?

In this topic, we will explain how bacterial pathogens activate immunity.

Extracellular bacteria stay and replicate outside host cells. These bacteria then produce toxin which damage the cells. Therefore, vaccines for bacterial diseases should made of antigens derived from bacterial parts such as polysaccharide and peptidoglycan. These antigens once enter the body, will be taken up by phagocytic cells at the site of injection (or immersion, etc.). Then, phagocytic cells produce special substances called “proinflammatory cytokine”, such as IL-1, IL-6, IL-8 and TNF- α to signal other white blood cells to migrate to the site. Stimulation of

several immune pathways will follow, which finally activate B cells to transform into plasma cells and memory cells. Plasma cells produce antibodies specific to the antigens, while memory call stay put and be ready for the next invasion. Basically speaking, vaccination makes our body train with the fake pathogens (dead or weak) in order to make our immune system learn and be able to fight the real diseases effectively, when it actually happens.

Mintra Lukkana, DVM, MSc, PhD

Pathradol Piamsomboon , DVM , PhD




  

 




Farm story

วิตามินซีคนทานได้ ปลากินดี
งานวิจัย ขิง กับ ยากำจัดวัชพืช
โปรไบโอติกแบบ multi-species
ขมิ้นชันในอาหารปลานิล
อาหารสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ปลาเสมือนจริงทดแทนการใช้สัตว์ทดลอง
การใช้สมุนไพรเป็นยาสลบกับปลาเรนโบว์เทราต์
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (3/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (2/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (1/3)
ความสัมพันธ์ของพยาธิตืดในปลากับแบคทีเรียตัวร้าย
โปรตีนจากเคยและการเลี้ยงกุ้ง
Nutraceuticals และการรักษาโรค AGD ในปลาแซลมอน
การป้องกันดีกว่าการรักษา วัคซีนคุณภาพ หยุดการระบาดของโรคสัตว์
nanobubbles และการเพาะเลี้ยงกุ้ง
nanobubbles
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #2
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #1
ยีสต์ทำขนมปังกับโปรไบโอติก
จุลินทรีย์ในลำไส้ปลา
ผลกระทบของ Covid19 ต่อตลาดปลาเทอร์บอตและคาเวียร์ของสหภาพยุโรป
โปรตีนทางเลือกกับปัญหาโรค EMS ในการเลี้ยงกุ้ง
"แมลงกับอุสาหกรรมอาหารสัตว์เลี้ยง"
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #10
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #9
การสนับสนุนความยั่งยืนในการประมง
กระแสความต้องการประมงยั่งยืน โอกาสและความท้าทายสำหรับปลานิล
African swine fever
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #8
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #7
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #6
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #5
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #4
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #3
พืชสมุนไพรกับสุขภาพปลา
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #2
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #1
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE
ปลาแซลมอน ในอาร์เจนตินา
โปรตีนทางเลือก
กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนประชาคมระหว่างประเทศในการพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ และสวัสดิภาพสัตว์น้ำของ OIE
ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ของ OIE
อาหารในโลกอนาคต
โปรไบโอติก Bacillus pumilus กับวิบริโอ
probiotic กับสารสกัดอินทผลัม
การยึดเกาะของโปรไบโอติก
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่งและเรื่องที่ควรทำหลังขนส่ง
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (1)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (1)
“อาหารปลอดภัย” “สิ่งแวดล้อม” “สวัสดิภาพสัตว์” กับการเลี้ยงสัตว์ปัจจุบัน
เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว Bio-Circular-Green Economy : ภาคการเกษตร
การให้ probiotic ชนิด Bacillus cereus และ Bacillus subtilis ผสมอาหารปลานิล ที่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโต สุขภาพของลำไส้ และความต้านทานต่อการติดเชื้อ Streptococcus agalactiae
การใช้ probiotics prebiotics และ synbiotics ในปลานิล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโต และการป้องกันการติดเชื้อ Aeromonas hydrophila
ปลานิลและซินไบโอติก
ปลาเทราต์กับซินไบโอติก
การฆ่าเชื้อโรคอุปกรณ์ส่วนตัว และน้ำ
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (3)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
วัคซีน Covid-19 หนึ่งในวิธีป้องกันโรค
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรคกรณีฉุกเฉิน และการเลือกใช้สารฆ่าเชื้อ
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรค ในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์
ซินไบโอติกกับแบคทีเรียประจำถิ่นในลำไส้กุ้งกุ้ง
ซินไบโอติกกับภูมิคุ้มกันของกุ้ง
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
คำแนะนำสำหรับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิวไข่ปลาแซลมอน
การประเมินโปรไบโอติก
การควบคุมเพศในสัตว์น้ำผ่านการจัดการชุดโครโมโซม
แอบดูจีนเลี้ยงกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำความรู้จัก…เปปไทด์ต้านจุลชีพ
โลกยุค 4.0 กับการเฝ้าระวังโรค
วิเคราะห์ข่าว หมู ไก่
อาหารสัตว์และเรื่องของสารพิษจากเชื้อรา
ซินไบโอติก (Synbiotics) สำหรับสัตว์น้ำ
ระบบนิเวศของแบคทีเรียในบ่อกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำไมสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์จึงไม่มีรายงานความเสี่ยงต่อไวรัส COVID-19
น้องใหม่ตัวร้ายไวรัสในกุ้ง Decapod Iridescent Virus 1 (DIV1)
ต้านวิบริโอด้วยโปรไบโอติก
ก้งุ โปรไบโอติก การเจริญเติบโต การย่อยอาหาร
แมงดากับงานด้านการแพทย์
คาเวียร์ ไข่จากปลาที่ใกล้สูญพันธุ์
การตรวจโรคทางห้องปฏิบัติการและการนำไปใช้
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (2)
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (1)
ระบบข้อมูลสุขภาพสัตว์โลก
น้ำปลา ความอร่อยจากอดีตสู่ยุคใส่ใจสุขภาพ
โรคอุบัติใหม่ในสัตว์น้ำของประเทศไทยในอดีต
โรคอุบัติใหม่ไม่ไกลตัว Novel Coronavirus
เรื่องกุ้งกับโปรไบโอติก (2)
ความสำคัญของการรายงานการระบาดของโรคกับสุขภาพสัตว์น้ำ
ยกระดับ from farm-to-table ด้วยสี่เสาหลักด้านคุณภาพ
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (2)
คู่มือป้องกัน โรคโควิด-19
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (1)