การผสมเทียมในสัตว์
ReadyPlanet.com
การผสมเทียมในสัตว์

สำหรับการเลี้ยงสัตว์ในปัจจุบันนั้นปฏิเสธไม่ได้เลยว่ามีการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการใช้จัดการการผลิตสัตว์ในฟาร์มเพิ่มมากขึ้นในทุกมิติของการทำงานซึ่งมีส่วนช่วยให้สามารถกำหนดแผนในการทำงานได้สะดวกมากขึ้นและได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้นอย่างมีคุณภาพในระยะเวลาการเลี้ยงที่สั้นลง การผสมเทียม (Artificial insemination) ไม่ได้มีแต่ในคนนะคะ ในสัตว์เองก็มีการผสมเทียมเหมือนกันการผสมเทียมเป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่งที่นำมาใช้ในฟาร์มเลี้ยงสัตว์อย่างแพร่หลาย ทั้งฟาร์มโค กระบือ แพะ แกะ สุกร และรวมถึงฟาร์มเพาะเลี้ยงปลา หลักการของการผสมเทียมก็คือ การทำให้อสุจิ กับ ไข่ ผสมกันโดยที่สัตว์ไม่ต้องร่วมเพศกันตามปกติ ซึ่งสามารถทำการผสมเทียมได้ทั้งในสัตว์ที่ในธรรมชาติมีการปฏิสนธิภายในร่างกาย เช่น โค กระบือ แพะ แกะ สุกรและสัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายนอกร่างกาย เช่น ปลา โดยการผสมเทียมเกิดจากที่มนุษย์นำเชื้ออสุจิของสัตว์เพศผู้ฉีดเข้าอวัยวะสืบพันธุ์ของสัตว์เพศเมียเพื่อให้อสุจิ กับ ไข่ผสมกันและเกิดการตั้งท้องในสัตว์เพศเมียได้ แต่ก่อนหน้าที่จะถึงขั้นตอนการฉีดน้ำเชื้อเข้าตัวสัตว์หรือนำน้ำเชื้อมาผสมกับไข่นั้น ยังต้องผ่านอีกหลายขั้นตอนในการทำให้เกิดผสมเทียมได้ เริ่มจากรีดน้ำเชื้อหรือน้ำอสุจิ นำน้ำเชื้อมาตรวจดูคุณภาพ ถ้าหาก ณ เวลาที่รีดน้ำเชื้อมาแล้วยังไม่ถึงเวลาที่ต้องใช้ผสมเทียมก็จะต้องเก็บรักษาน้ำเชื้อให้ถูกวิธีเพื่อให้คงคุณภาพไว้มากที่สุด หากต้องการนำมาใช้ก็ต้องมีวิธีนำน้ำเชื้อที่เก็บรักษามาตรวจคุณภาพและเตรียมพร้อมก่อนใช้ผสมกับไข่ จากนั้นจึงนำมาผสม/ฉีดเข้าตัวสัตว์ได้

การผสมเทียมมีประโยชน์หรือข้อดีอย่างไรบ้าง

1. เมื่อเราสามารถเลือกน้ำเชื้อและไข่ที่มาผสมได้แปลว่าเราสามารถคัดเลือกน้ำเชื้อและไข่จากสัตว์ที่มีลักษณะพันธุกรรมดี เพื่อให้ได้ลูกที่มีลักษณะที่ดี ตามที่เราต้องการ

2. แก้ปัญหาที่พบจากการผสมจริง เช่นการผสมติดยากทั้งที่เกิดจากสุขภาพของตัวสัตว์เองสรีระของสัตว์เพศผู้และเมียหากแตกต่างกันมากอาจไม่สามารถผสมพันธุ์ได้สำเร็จหรือเพิ่มความยุ่งยากในการจัดการฟาร์มเพื่อผสมพันธุ์ระยะเวลาสำหรับพร้อมผสมจริงไม่สอดคล้องกันรวมถึงป้องกันการระบาดของโรคที่ติดต่อผ่านทางระบบสืบพันธุ์

3. ประหยัดเงิน เมื่อเราสามารถเลือกซื้อน้ำเชื้อพ่อพันธุ์ได้หรือรีดน้ำเชื้อเพื่อเก็บรักษาไว้จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงพ่อพันธุ์การสั่งซื้อพ่อพันธุ์จากต่างประเทศการขนส่งพ่อพันธุ์ไปผสมตามที่ต่างๆ นอกจากนี้น้ำเชื้อจากพ่อพันธุ์ที่รีดเก็บรักษาไว้หากมีปริมาณและคุณภาพดีก็สามารถนำมาละลายแล้วแบ่งใช้สำหรับผสมเทียมในสัตว์ตัวเมียได้อีกหลายตัว

เหล่านี้เป็นข้อมูลเบื้องต้นให้ทุกท่านทำความเข้าใจเรื่องการผสมเทียมในสัตว์ให้มากขึ้น ครั้งหน้าจะมาต่อกันค่ะ

สัตวแพทย์หญิง ดร.มินตรา ลักขณา (หมอเม)
อ.น.สพ.ดร. ภัทรพล เปี่ยมสมบูรณ์ (หมอเอก) 

 

 

Artificial insemination (fertilization) in animals

Nobody can deny that Technology has become a major part of our life, as well as in livestock production. Technology on animal reproduction has been used to assist in farm management, and improve production in shorter time.

Artificial insemination (AI) is not done only in human. AI has also been widely implemented in animals, especially in livestock such as cow, buffalo, goat, sheep, pig as well as fish.

The principal of AI is to conduct fertilization of egg and sperm without sexual intercourse. AI can be performed in both animals that fertilize internally such as cow, sheep and pig and animals that fertilize externally such as fish.

Before semen can be inseminated into female, there several steps that needed to be done. It requires technique for semen collection and quality evaluation. If semen is not being used right after collection, it also requires techniques to maintain quality of semen such as chilled or frozen semen preservation.

What are the benefits of Artificial insemination?

1. You will be able to select semen and egg from good genetic line so we can get good quality offspring that has all the characteristics we want.

2. Prevent problems caused by natural breeding such as infertility, sexual transmitted diseases, and anatomical (physical) differences between male and female. Also, the problem about timing (male and female are not ready to breed at the same time) can also be overcome

3. AI can help you save cost! There is no need to keep both male and female breeders in your farm when you can buy only the semen. You can also buy semen from other countries while transporting live animal will cost a lot of money. Moreover, one semen sample can be divided and used with multiple females.

Next time, let learn more about Artificial insemination!

Mintra Lukkana, DVM, MSc, PhD

Pathradol Piamsomboon , DVM , PhD




  




Farm story

วิตามินซีคนทานได้ ปลากินดี
งานวิจัย ขิง กับ ยากำจัดวัชพืช
โปรไบโอติกแบบ multi-species
ขมิ้นชันในอาหารปลานิล
อาหารสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ปลาเสมือนจริงทดแทนการใช้สัตว์ทดลอง
การใช้สมุนไพรเป็นยาสลบกับปลาเรนโบว์เทราต์
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (3/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (2/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (1/3)
ความสัมพันธ์ของพยาธิตืดในปลากับแบคทีเรียตัวร้าย
โปรตีนจากเคยและการเลี้ยงกุ้ง
Nutraceuticals และการรักษาโรค AGD ในปลาแซลมอน
การป้องกันดีกว่าการรักษา วัคซีนคุณภาพ หยุดการระบาดของโรคสัตว์
nanobubbles และการเพาะเลี้ยงกุ้ง
nanobubbles
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #2
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #1
ยีสต์ทำขนมปังกับโปรไบโอติก
จุลินทรีย์ในลำไส้ปลา
ผลกระทบของ Covid19 ต่อตลาดปลาเทอร์บอตและคาเวียร์ของสหภาพยุโรป
โปรตีนทางเลือกกับปัญหาโรค EMS ในการเลี้ยงกุ้ง
"แมลงกับอุสาหกรรมอาหารสัตว์เลี้ยง"
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #10
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #9
การสนับสนุนความยั่งยืนในการประมง
กระแสความต้องการประมงยั่งยืน โอกาสและความท้าทายสำหรับปลานิล
African swine fever
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #8
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #7
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #6
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #5
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #4
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #3
พืชสมุนไพรกับสุขภาพปลา
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #2
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #1
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE
ปลาแซลมอน ในอาร์เจนตินา
โปรตีนทางเลือก
กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนประชาคมระหว่างประเทศในการพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ และสวัสดิภาพสัตว์น้ำของ OIE
ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ของ OIE
อาหารในโลกอนาคต
โปรไบโอติก Bacillus pumilus กับวิบริโอ
probiotic กับสารสกัดอินทผลัม
การยึดเกาะของโปรไบโอติก
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่งและเรื่องที่ควรทำหลังขนส่ง
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (1)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (1)
“อาหารปลอดภัย” “สิ่งแวดล้อม” “สวัสดิภาพสัตว์” กับการเลี้ยงสัตว์ปัจจุบัน
เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว Bio-Circular-Green Economy : ภาคการเกษตร
การให้ probiotic ชนิด Bacillus cereus และ Bacillus subtilis ผสมอาหารปลานิล ที่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโต สุขภาพของลำไส้ และความต้านทานต่อการติดเชื้อ Streptococcus agalactiae
การใช้ probiotics prebiotics และ synbiotics ในปลานิล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโต และการป้องกันการติดเชื้อ Aeromonas hydrophila
ปลานิลและซินไบโอติก
ปลาเทราต์กับซินไบโอติก
การฆ่าเชื้อโรคอุปกรณ์ส่วนตัว และน้ำ
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (3)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
วัคซีน Covid-19 หนึ่งในวิธีป้องกันโรค
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรคกรณีฉุกเฉิน และการเลือกใช้สารฆ่าเชื้อ
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรค ในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์
ซินไบโอติกกับแบคทีเรียประจำถิ่นในลำไส้กุ้งกุ้ง
ซินไบโอติกกับภูมิคุ้มกันของกุ้ง
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
คำแนะนำสำหรับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิวไข่ปลาแซลมอน
การประเมินโปรไบโอติก
การควบคุมเพศในสัตว์น้ำผ่านการจัดการชุดโครโมโซม
แอบดูจีนเลี้ยงกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำความรู้จัก…เปปไทด์ต้านจุลชีพ
โลกยุค 4.0 กับการเฝ้าระวังโรค
วิเคราะห์ข่าว หมู ไก่
อาหารสัตว์และเรื่องของสารพิษจากเชื้อรา
ซินไบโอติก (Synbiotics) สำหรับสัตว์น้ำ
ระบบนิเวศของแบคทีเรียในบ่อกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำไมสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์จึงไม่มีรายงานความเสี่ยงต่อไวรัส COVID-19
น้องใหม่ตัวร้ายไวรัสในกุ้ง Decapod Iridescent Virus 1 (DIV1)
ต้านวิบริโอด้วยโปรไบโอติก
ก้งุ โปรไบโอติก การเจริญเติบโต การย่อยอาหาร
แมงดากับงานด้านการแพทย์
คาเวียร์ ไข่จากปลาที่ใกล้สูญพันธุ์
การตรวจโรคทางห้องปฏิบัติการและการนำไปใช้
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (2)
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (1)
ระบบข้อมูลสุขภาพสัตว์โลก
น้ำปลา ความอร่อยจากอดีตสู่ยุคใส่ใจสุขภาพ
โรคอุบัติใหม่ในสัตว์น้ำของประเทศไทยในอดีต
โรคอุบัติใหม่ไม่ไกลตัว Novel Coronavirus
เรื่องกุ้งกับโปรไบโอติก (2)
ความสำคัญของการรายงานการระบาดของโรคกับสุขภาพสัตว์น้ำ
ยกระดับ from farm-to-table ด้วยสี่เสาหลักด้านคุณภาพ
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (2)
คู่มือป้องกัน โรคโควิด-19
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (1)