การตรวจตัวอย่างปลาเบื้องต้นในฟาร์ม: การตัดครีบ
ReadyPlanet.com
การตรวจตัวอย่างปลาเบื้องต้นในฟาร์ม: การตัดครีบ

           

บทความก่อนหน้าได้อธิบายเรื่องการตรวจตัวอย่างปลาเบื้องต้นในฟาร์มที่เป็นการขูดผิวหนังไปแล้ว ซึ่งถ้ามีเครื่องมือพร้อมก็สามารถทำได้ไม่ยากเลย ในครั้งนี้มีวิธีตรวจตัวอย่างปลาเบื้องต้นอีกแบบ คือ การตัดครีบ ซึ่งสามารถเลือกใช้ทั้ง 2 วิธีนี้สำหรับตรวจตัวอย่างปลาเบื้องต้นในฟาร์ม เพื่อให้ได้ข้อมูลสำหรับประกอบการสืบสวนโรค หรือจะเลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่งก็ทำได้ แต่ในบางครั้งก็สามารถพบได้ว่ากรณีที่ติดเชื้อปรสิตภายนอกในช่วงระยะแรกอาจตรวจไม่พบปรสิตที่บริเวณครีบ กลับตรวจพบได้จากเมือกที่ขูดผิวหนัง ผู้ตรวจต้องพิจารณาข้อมูลแวดล้อมอื่นๆ ประกอบการตัดสินใจตรวจ นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับความสะดวกของฟาร์มด้วย

การตัดครีบ หรือภาษาอังกฤษเรียกว่า fin clipping นั้นเป็นวิธีที่ทำได้สะดวกใกล้เคียงกับการขูดผิวหนัง ขั้นตอนเริ่มตั้งแต่เตรียมสไลด์แก้วที่สะอาด แล้วหยดน้ำเกลือ/น้ำที่เลี้ยงปลาลงบนสไลด์จำนวน 1-2 หยด แล้วใช้กรรไกรคมตัดปลายครีบออกมาเล็กน้อย นำไปวางลงบนสไลด์แก้วที่สะอาด จากนั้นปิดด้วยแผ่นปิดสไลด์ แล้วนำมาส่องตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ทันที เช่นเดียวกับการขูดผิวหนังในขั้นตอนนี้จะต้องระวังไม่ให้น้ำเกลือที่หยดบนสไลด์แห้ง เพราะอาจทำให้ปรสิตที่ติดอยู่ที่ปลายครีบหลุดออกมาได้

วิธีการตัดครีบจะทำให้เกิดความบอบช้ำต่อผิวหนังปลาน้อยกว่าวิธีการขูดที่ผิวหนังตรงๆ แต่วิธีนี้จะมีข้อจำกัดมากกว่า เพราะว่าครีบที่ตัดออกมามีความหนาเล็กน้อย แปลว่าจะทำให้สไลด์ที่นำมาส่องมีความหนา การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์อาจตรวจได้ไม่ชัดเจน ผู้ตรวจจะต้องปรับความคมชัดขณะส่องตรวจอยู่เสมอ

การตัดครีบให้ตัดบริเวณปลายครีบหางเพียงขนาดชิ้นเล็กๆ นำมาวางบนสไลด์ที่หยดน้ำเกลือ normal saline (0.85-0.9% NaCl) ปิดด้วยแผ่นปิดสไลด์ และส่องตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ทันที

การตรวจตัวอย่างปลาเบื้องต้นในฟาร์มเพื่อวินิจฉัยโรคติดปรสิตภายนอกนอกจากจะใช้วิธีตรวจผิวหนังและครีบนอกจากเป็นการแล้ว ยังช่วยให้เกิดการสังเกตรอยโรคที่พบที่ผิวหนังของปลาได้อีกด้วย เช่น จุดเลือดออก ผิวหนังลอกหลุด แผลหลุม เนื้อตาย ครีบที่ฉีกขาด การติดเชื้อปรสิตภายนอกอย่างรุนแรง ทำให้เกิดการอักเสบบริเวณผิวหนัง และปลาผลิตเมือกมากขึ้นจนเห็นผิวหนังลักษณะสีขาวขุ่น

 

อย่างไรก็ตาม การวินิจฉัยโรคติดปรสิตภายนอกควรพิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่มาจากสาเหตุอื่น หรือสาเหตุหลักที่ทำให้ปลาป่วย เช่น ความรุนแรงของโรค คุณภาพน้ำเลี้ยงปลา ลักษณะ อาการภายนอก เนื่องจากอาจตรวจพบปรสิตภายนอกจากเมือกของปลาสุขภาพปกติ โดยเฉพาะกรณีที่ตรวจปลาที่เลี้ยงในบ่อดินจะมีโอกาสพบปรสิตที่อาศัยอยู่ตามธรรมชาติได้

สัตวแพทย์หญิง ดร.มินตรา ลักขณา (หมอเม)
อ.น.สพ.ดร. ภัทรพล เปี่ยมสมบูรณ์ (หมอเอก) 




  

 




Farm story

วิตามินซีคนทานได้ ปลากินดี
งานวิจัย ขิง กับ ยากำจัดวัชพืช
โปรไบโอติกแบบ multi-species
ขมิ้นชันในอาหารปลานิล
อาหารสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ปลาเสมือนจริงทดแทนการใช้สัตว์ทดลอง
การใช้สมุนไพรเป็นยาสลบกับปลาเรนโบว์เทราต์
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (3/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (2/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (1/3)
ความสัมพันธ์ของพยาธิตืดในปลากับแบคทีเรียตัวร้าย
โปรตีนจากเคยและการเลี้ยงกุ้ง
Nutraceuticals และการรักษาโรค AGD ในปลาแซลมอน
การป้องกันดีกว่าการรักษา วัคซีนคุณภาพ หยุดการระบาดของโรคสัตว์
nanobubbles และการเพาะเลี้ยงกุ้ง
nanobubbles
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #2
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #1
ยีสต์ทำขนมปังกับโปรไบโอติก
จุลินทรีย์ในลำไส้ปลา
ผลกระทบของ Covid19 ต่อตลาดปลาเทอร์บอตและคาเวียร์ของสหภาพยุโรป
โปรตีนทางเลือกกับปัญหาโรค EMS ในการเลี้ยงกุ้ง
"แมลงกับอุสาหกรรมอาหารสัตว์เลี้ยง"
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #10
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #9
การสนับสนุนความยั่งยืนในการประมง
กระแสความต้องการประมงยั่งยืน โอกาสและความท้าทายสำหรับปลานิล
African swine fever
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #8
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #7
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #6
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #5
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #4
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #3
พืชสมุนไพรกับสุขภาพปลา
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #2
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #1
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE
ปลาแซลมอน ในอาร์เจนตินา
โปรตีนทางเลือก
กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนประชาคมระหว่างประเทศในการพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ และสวัสดิภาพสัตว์น้ำของ OIE
ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ของ OIE
อาหารในโลกอนาคต
โปรไบโอติก Bacillus pumilus กับวิบริโอ
probiotic กับสารสกัดอินทผลัม
การยึดเกาะของโปรไบโอติก
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่งและเรื่องที่ควรทำหลังขนส่ง
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (1)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (1)
“อาหารปลอดภัย” “สิ่งแวดล้อม” “สวัสดิภาพสัตว์” กับการเลี้ยงสัตว์ปัจจุบัน
เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว Bio-Circular-Green Economy : ภาคการเกษตร
การให้ probiotic ชนิด Bacillus cereus และ Bacillus subtilis ผสมอาหารปลานิล ที่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโต สุขภาพของลำไส้ และความต้านทานต่อการติดเชื้อ Streptococcus agalactiae
การใช้ probiotics prebiotics และ synbiotics ในปลานิล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโต และการป้องกันการติดเชื้อ Aeromonas hydrophila
ปลานิลและซินไบโอติก
ปลาเทราต์กับซินไบโอติก
การฆ่าเชื้อโรคอุปกรณ์ส่วนตัว และน้ำ
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (3)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
วัคซีน Covid-19 หนึ่งในวิธีป้องกันโรค
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรคกรณีฉุกเฉิน และการเลือกใช้สารฆ่าเชื้อ
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรค ในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์
ซินไบโอติกกับแบคทีเรียประจำถิ่นในลำไส้กุ้งกุ้ง
ซินไบโอติกกับภูมิคุ้มกันของกุ้ง
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
คำแนะนำสำหรับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิวไข่ปลาแซลมอน
การประเมินโปรไบโอติก
การควบคุมเพศในสัตว์น้ำผ่านการจัดการชุดโครโมโซม
แอบดูจีนเลี้ยงกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำความรู้จัก…เปปไทด์ต้านจุลชีพ
โลกยุค 4.0 กับการเฝ้าระวังโรค
วิเคราะห์ข่าว หมู ไก่
อาหารสัตว์และเรื่องของสารพิษจากเชื้อรา
ซินไบโอติก (Synbiotics) สำหรับสัตว์น้ำ
ระบบนิเวศของแบคทีเรียในบ่อกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำไมสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์จึงไม่มีรายงานความเสี่ยงต่อไวรัส COVID-19
น้องใหม่ตัวร้ายไวรัสในกุ้ง Decapod Iridescent Virus 1 (DIV1)
ต้านวิบริโอด้วยโปรไบโอติก
ก้งุ โปรไบโอติก การเจริญเติบโต การย่อยอาหาร
แมงดากับงานด้านการแพทย์
คาเวียร์ ไข่จากปลาที่ใกล้สูญพันธุ์
การตรวจโรคทางห้องปฏิบัติการและการนำไปใช้
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (2)
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (1)
ระบบข้อมูลสุขภาพสัตว์โลก
น้ำปลา ความอร่อยจากอดีตสู่ยุคใส่ใจสุขภาพ
โรคอุบัติใหม่ในสัตว์น้ำของประเทศไทยในอดีต
โรคอุบัติใหม่ไม่ไกลตัว Novel Coronavirus
เรื่องกุ้งกับโปรไบโอติก (2)
ความสำคัญของการรายงานการระบาดของโรคกับสุขภาพสัตว์น้ำ
ยกระดับ from farm-to-table ด้วยสี่เสาหลักด้านคุณภาพ
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (2)
คู่มือป้องกัน โรคโควิด-19
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (1)