การจัดการสุขภาพสัตว์น้ำ ในอีก 30 กว่าปีข้างหน้า ภาค 2
ReadyPlanet.com
การจัดการสุขภาพสัตว์น้ำ ในอีก 30 กว่าปีข้างหน้า ภาค 2

           

 

  มาต่อจากครั้งที่แล้วกันค่ะ ในโรคอุบัติใหม่ นอกจากเรื่อง การระบาดของโรคแล้ว คุณภาพทางพันธุกรรม ภาวะโภชนาการ สิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ภายในระบบการผลิต มีผลทำให้เราสามารถพบโรคอุบัติใหม่เพิ่มได้อีก ซึ่งเป็นส่วนที่จะท้าทายวิธีการ แนวคิดในการออกกฎหมายสำหรับการควบคุมโรคข้ามพรมแดนต่อไป ซึ่งมีผลกับความมั่นคงทางอาหารเช่นกัน

นอกจากนี้ ปัจจุบันก็ยังมีเรื่องของ 'pathobiome' ที่ต้องคำนึงถึงด้วย

หลักการของ 'pathobiome' คืออะไร เรื่องนี้เกิดมาจากแนวคิดของการเกิดโรคมีการพัฒนาอย่างมากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา และปรากฎการณ์ที่เชื้อจุลชีพผนวกกับปัจจัยความรุนแรงทำให้เกิดโรค อาจจะไม่สามารถพบได้ในทุกกรณีของการป่วย ในความเป็นจริงแล้วเชื้อจุลชีพก่อโรคที่เกิดขึ้นมีความหลากหลายทางชีวภาพค่อนข้างมากและสามารถพบได้ในทุกกลุ่มจุลินทรีย์ ทั้งไวรัส แบคทีเรีย รา โปรโตซัว ความรุนแรงของการเกิดโรคของเชื้อจุลชีพเป็นผลมาจากการมีปฏิสัมพันธ์กันที่แข็งแกร่งของเชื้อในสิ่งแวดล้อม ตัวสัตว์ (host) และ/หรือพาหะนำเชื้อ

เรื่องที่ผู้เลี้ยงสัตว์ต้องคำนึงถึงในอนาคตอีก 30 ปีข้างหน้า ก็คือ การนำเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด เพื่อช่วยในการระบุการป้องกันที่ยังขาดอยู่ ช่องโหว่ของระบบความปลดภัยทางชีวภาพ ช่องโหว่ของระบบภูมิคุ้มกันของสัตว์ ควรต้องมีการอุดช่องโหว่นั้น นำเทคโนโลยีมาปรับใช้สำหรับการวินิจฉัยเชื้อโรคในฟาร์มที่เฉพาะเจาะจงและเหมาะสมมากยิ่งขึ้น มีการรวบรวมข้อมูลการผลิตระดับฟาร์มผ่านแอพพลิเคชั่นในโทรศัพท์มือถือ มีการมีวิเคราะห์ข้อมูลในฟาร์ม เพื่อให้เกิดการควบคุมการระบาดของโรคทั้งในประเทศและระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพและทันต่อสถานการณการเกิดโรคค่ะ

ท้ายที่สุดแล้วอาจารย์ผู้วิจัยได้สรุปเรื่องนี้ไว้ว่า

1. การผลิตแบบครบวงจร จะเป็นสิ่งชี้วัดหลักของความยั่งยืนในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

2. การดำเนินการเพื่อลดการเกิดโรคระบาดอาจทำได้มากขึ้นในบางพื้นที่การเลี้ยง

3. การมุ่งเน้นไปที่ประเด็นของการกำจัดเชื้อก่อโรคเป็นเรื่องที่เป็นไปได้

4. 'Pathobiome' อาจมีความสำคัญมากกว่า 'เชื้อก่อโรค' เมื่อพบการเกิดโรค

5. ข้อมูลทางพันธุกรรม เครื่องมือพันธุกรรม ที่พัฒนาขึ้น จะมีส่วนช่วยในการดูแลเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพ แต่การใช้ข้อมูลและเครื่องมือต้องคำนึงถึงข้อจำกัดทางเทคนิคด้วย

6. แหล่งข้อมูลทั้ง ‘Top-down’ และ ‘bottom-up เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้

7. การออกแบบระบบอาหาร (เช่น การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ) ต้องคำนึงถึงหลักการแนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว หรือ One Health เป็นเรื่องพื้นฐาน

เรื่อง 'Pathobiome' น่าสนใจมากๆ ค่ะ ต้องหาเวลาไปค้นคว้าก่อนแล้วจะมาเล่าให้ฟังกัน น่าจะดี

สัตวแพทย์หญิง ดร.มินตรา ลักขณา (หมอเม)
อ.น.สพ.ดร. ภัทรพล เปี่ยมสมบูรณ์ (หมอเอก) 

 

 



  




Farm story

วิตามินซีคนทานได้ ปลากินดี
งานวิจัย ขิง กับ ยากำจัดวัชพืช
โปรไบโอติกแบบ multi-species
ขมิ้นชันในอาหารปลานิล
อาหารสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ปลาเสมือนจริงทดแทนการใช้สัตว์ทดลอง
การใช้สมุนไพรเป็นยาสลบกับปลาเรนโบว์เทราต์
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (3/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (2/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (1/3)
ความสัมพันธ์ของพยาธิตืดในปลากับแบคทีเรียตัวร้าย
โปรตีนจากเคยและการเลี้ยงกุ้ง
Nutraceuticals และการรักษาโรค AGD ในปลาแซลมอน
การป้องกันดีกว่าการรักษา วัคซีนคุณภาพ หยุดการระบาดของโรคสัตว์
nanobubbles และการเพาะเลี้ยงกุ้ง
nanobubbles
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #2
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #1
ยีสต์ทำขนมปังกับโปรไบโอติก
จุลินทรีย์ในลำไส้ปลา
ผลกระทบของ Covid19 ต่อตลาดปลาเทอร์บอตและคาเวียร์ของสหภาพยุโรป
โปรตีนทางเลือกกับปัญหาโรค EMS ในการเลี้ยงกุ้ง
"แมลงกับอุสาหกรรมอาหารสัตว์เลี้ยง"
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #10
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #9
การสนับสนุนความยั่งยืนในการประมง
กระแสความต้องการประมงยั่งยืน โอกาสและความท้าทายสำหรับปลานิล
African swine fever
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #8
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #7
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #6
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #5
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #4
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #3
พืชสมุนไพรกับสุขภาพปลา
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #2
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #1
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE
ปลาแซลมอน ในอาร์เจนตินา
โปรตีนทางเลือก
กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนประชาคมระหว่างประเทศในการพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ และสวัสดิภาพสัตว์น้ำของ OIE
ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ของ OIE
อาหารในโลกอนาคต
โปรไบโอติก Bacillus pumilus กับวิบริโอ
probiotic กับสารสกัดอินทผลัม
การยึดเกาะของโปรไบโอติก
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่งและเรื่องที่ควรทำหลังขนส่ง
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (1)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (1)
“อาหารปลอดภัย” “สิ่งแวดล้อม” “สวัสดิภาพสัตว์” กับการเลี้ยงสัตว์ปัจจุบัน
เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว Bio-Circular-Green Economy : ภาคการเกษตร
การให้ probiotic ชนิด Bacillus cereus และ Bacillus subtilis ผสมอาหารปลานิล ที่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโต สุขภาพของลำไส้ และความต้านทานต่อการติดเชื้อ Streptococcus agalactiae
การใช้ probiotics prebiotics และ synbiotics ในปลานิล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโต และการป้องกันการติดเชื้อ Aeromonas hydrophila
ปลานิลและซินไบโอติก
ปลาเทราต์กับซินไบโอติก
การฆ่าเชื้อโรคอุปกรณ์ส่วนตัว และน้ำ
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (3)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
วัคซีน Covid-19 หนึ่งในวิธีป้องกันโรค
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรคกรณีฉุกเฉิน และการเลือกใช้สารฆ่าเชื้อ
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรค ในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์
ซินไบโอติกกับแบคทีเรียประจำถิ่นในลำไส้กุ้งกุ้ง
ซินไบโอติกกับภูมิคุ้มกันของกุ้ง
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
คำแนะนำสำหรับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิวไข่ปลาแซลมอน
การประเมินโปรไบโอติก
การควบคุมเพศในสัตว์น้ำผ่านการจัดการชุดโครโมโซม
แอบดูจีนเลี้ยงกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำความรู้จัก…เปปไทด์ต้านจุลชีพ
โลกยุค 4.0 กับการเฝ้าระวังโรค
วิเคราะห์ข่าว หมู ไก่
อาหารสัตว์และเรื่องของสารพิษจากเชื้อรา
ซินไบโอติก (Synbiotics) สำหรับสัตว์น้ำ
ระบบนิเวศของแบคทีเรียในบ่อกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำไมสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์จึงไม่มีรายงานความเสี่ยงต่อไวรัส COVID-19
น้องใหม่ตัวร้ายไวรัสในกุ้ง Decapod Iridescent Virus 1 (DIV1)
ต้านวิบริโอด้วยโปรไบโอติก
ก้งุ โปรไบโอติก การเจริญเติบโต การย่อยอาหาร
แมงดากับงานด้านการแพทย์
คาเวียร์ ไข่จากปลาที่ใกล้สูญพันธุ์
การตรวจโรคทางห้องปฏิบัติการและการนำไปใช้
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (2)
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (1)
ระบบข้อมูลสุขภาพสัตว์โลก
น้ำปลา ความอร่อยจากอดีตสู่ยุคใส่ใจสุขภาพ
โรคอุบัติใหม่ในสัตว์น้ำของประเทศไทยในอดีต
โรคอุบัติใหม่ไม่ไกลตัว Novel Coronavirus
เรื่องกุ้งกับโปรไบโอติก (2)
ความสำคัญของการรายงานการระบาดของโรคกับสุขภาพสัตว์น้ำ
ยกระดับ from farm-to-table ด้วยสี่เสาหลักด้านคุณภาพ
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (2)
คู่มือป้องกัน โรคโควิด-19
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (1)