ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ReadyPlanet.com
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)

                            

สำหรับวันนี้มาต่อเรื่องประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ กันอีกนิดหนึ่งค่ะ

5. สารประกอบควอเทอร์นารีแอมโมเนียม (Quaternary ammonium compounds หรือ QACs)

ประสิทธิภาพของการใช้สารประกอบควอเทอร์นารีแอมโมเนียมมีความแตกต่างกัน โดย QACs มีผลต่อแบคทีเรีย และเชื้อราบางชนิด แต่อาจไม่สามารถใช้ QACs ทำลายเชื้อไวรัสได้ทั้งหมด ทั้งนี้ QACs มีประสิทธิภาพในการทำลายเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกสูง ในขณะที่ออกฤทธิ์ช้ากับแบคทีเรียแกรมลบ สารประกอบ QACs ไม่มีผลต่อการทำลายสปอร์ของเชื้อ แต่มีข้อดี คือ ไม่กัดกร่อนและมีคุณสมบัติที่ช่วยเพิ่มการสัมผัสกับพื้นผิว ในบางครั้ง QACs อาจเป็นพิษต่อสัตว์น้ำได้ จึงควรต้องกำจัด ล้าง QACs ออกจากพื้นผิวไม่ให้หลงเหลืออยู่บนพื้นผิววัสดุ อุปกรณ์ภายหลังจากการใช้ 

6. การฉายรังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet หรือ UV)

การเลือกวิธีฉายรังสี UV เป็นทางเลือกที่เหมาะสมสำหรับการบำบัดน้ำที่เข้าหรือออกจากฟาร์ม หรือสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่มีการควบคุมการไหลของน้ำในระบบ โดยเฉพาะกรณีที่ใช้น้ำแบบหมุนเวียนควรใช้วิธีการฉายรังสี UV ร่วมด้วย เพื่อฆ่าเชื้อในขั้นตอนหลังจากการกรองน้ำ ในขั้นตอนการกรองต้องเป็นการกรองที่มีประสิทธิภาพด้วยนะคะ กรองเอาสารแขวนลอยออก เนื่องจากสารแขวนลอยช่วยลดการกระจายของรังสี UV ทำให้ประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อลดลงค่ะ

7. การใช้ความร้อนทำลายเชื้อก่อโรค

เชื้อก่อโรคแต่ละชนิดมีความทนทานต่อความร้อนแตกต่างกัน ดังนั้น การเลือกใช้ความร้อนในการฆ่าเชื้อต้องพิจารณาคุณสมบัติความทนทานของเชื้อก่อโรคแต่ละตัวด้วย ซึ่งโดยทั่วไปแล้วในการฆ่าเชื้อโดยใช้ความร้อนร่วมกับสภาวะที่มีความชื้นอยู่ด้วยจะมีประสิทธิภาพมากกว่าใช้ความร้อนแต่ไม่มีความชื้น (แต่ถ้าจุดไฟเผาก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ได้ผลนะคะ)

8. ตาก หรือ ผึ่งให้แห้ง 

เช่นเดียวกันกับการใช้ความร้อนทำลายเชื้อก่อโรค การตาก หรือ ผึ่งให้แห้งอาจมีประสิทธิภาพสำหรับเชื้อก่อโรคที่ไม่ค่อยทนความร้อน อ่อนแอ และอาจใช้ในสถานการณ์ที่วิธีการฆ่าเชื้อโรคอื่น ๆ ไม่สามารถทำได้สะดวก หรือเป็นวิธีการที่ใช้เสริมเพิ่มเติมไปนอกเหนือจากวิธีการฆ่าเชื้อโรคแบบอื่น ๆ การตาก หรือ ผึ่งให้แห้งถือได้ว่าเป็นวิธีการฆ่าเชื้อโรคที่น่าสนใจ ถ้าหากสามารถทำให้แห้งได้อย่างสมบูรณ์เพราะว่าในภาวะที่แห้งและขาดน้ำ จะฆ่าเชื้อก่อโรคหลายชนิด อย่างไรก็ตาม ถ้าใช้วิธีนี้อาจตรวจสอบปริมาณความชื้นยาก และวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการตาก หรือผึ่ง เช่น อุณหภูมิและความชื้นขณะนั้น 

9. วิธีการฆ่าเชื้อหลายวิธีรวมกัน

จากที่กล่าวมาทั้งหมด เราสามารถพิจารณาเลือกใช้วิธีการฆ่าเชื้อแบบผสมผสานหลายวิธีรวมกันได้ เพื่อเสริมประสิทธิภาพของการฆ่าเชื้อ และเพื่อให้แน่ใจรวมทั้งมั่นใจว่าทำลายเชื้อก่อโรคได้ผลจริงๆ ยกตัวอย่างวิธีการฆ่าเชื้อหลายวิธีรวมกัน ได้แก่ การตาก หรือผึ่งให้แห้งใต้แสงแดดโดยตรง (ไม่มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน) ร่วมกับการฉายรังสี UV และอาจใช้วิธีอื่นร่วมอีก หรือการฉายโอโซนและรังสี UV ที่มักจะใช้รวมกัน การฉายรังสี UV ยังมีข้อดีในการกำจัดสารตกค้างในน้ำที่ผ่านการบำบัดด้วยโอโซนแล้ว แต่อย่างไรก็ตามควรต้องพิจารณาวิธีการฆ่าเชื้อหลายวิธีรวมกันที่นำมาใช้ด้วยว่าจะไม่ลดประสิทธิภาพของการฆ่าเชื้อ เช่น สารเคมีบางชนิดก็ไม่ควรนำมาใช้ร่วมกับผงซักฟอก เป็นต้น

จบกันไปอีก 1 ส่วนสำหรับเรื่องที่เกี่ยวกับการฆ่าเชื้อในสถานประกอบการ หรือฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้ำ บทความหน้าจะเป็นเรื่องอะไร อย่าลืมมาตามอ่านกันนะคะ ขอบคุณค่ะ

 

สัตวแพทย์หญิง ดร.มินตรา ลักขณา (หมอเม)
อ.น.สพ.ดร. ภัทรพล เปี่ยมสมบูรณ์ (หมอเอก) 



  




Farm story

วิตามินซีคนทานได้ ปลากินดี
งานวิจัย ขิง กับ ยากำจัดวัชพืช
โปรไบโอติกแบบ multi-species
ขมิ้นชันในอาหารปลานิล
อาหารสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ปลาเสมือนจริงทดแทนการใช้สัตว์ทดลอง
การใช้สมุนไพรเป็นยาสลบกับปลาเรนโบว์เทราต์
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (3/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (2/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (1/3)
ความสัมพันธ์ของพยาธิตืดในปลากับแบคทีเรียตัวร้าย
โปรตีนจากเคยและการเลี้ยงกุ้ง
Nutraceuticals และการรักษาโรค AGD ในปลาแซลมอน
การป้องกันดีกว่าการรักษา วัคซีนคุณภาพ หยุดการระบาดของโรคสัตว์
nanobubbles และการเพาะเลี้ยงกุ้ง
nanobubbles
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #2
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #1
ยีสต์ทำขนมปังกับโปรไบโอติก
จุลินทรีย์ในลำไส้ปลา
ผลกระทบของ Covid19 ต่อตลาดปลาเทอร์บอตและคาเวียร์ของสหภาพยุโรป
โปรตีนทางเลือกกับปัญหาโรค EMS ในการเลี้ยงกุ้ง
"แมลงกับอุสาหกรรมอาหารสัตว์เลี้ยง"
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #10
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #9
การสนับสนุนความยั่งยืนในการประมง
กระแสความต้องการประมงยั่งยืน โอกาสและความท้าทายสำหรับปลานิล
African swine fever
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #8
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #7
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #6
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #5
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #4
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #3
พืชสมุนไพรกับสุขภาพปลา
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #2
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #1
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE
ปลาแซลมอน ในอาร์เจนตินา
โปรตีนทางเลือก
กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนประชาคมระหว่างประเทศในการพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ และสวัสดิภาพสัตว์น้ำของ OIE
ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ของ OIE
อาหารในโลกอนาคต
โปรไบโอติก Bacillus pumilus กับวิบริโอ
probiotic กับสารสกัดอินทผลัม
การยึดเกาะของโปรไบโอติก
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่งและเรื่องที่ควรทำหลังขนส่ง
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (1)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (1)
“อาหารปลอดภัย” “สิ่งแวดล้อม” “สวัสดิภาพสัตว์” กับการเลี้ยงสัตว์ปัจจุบัน
เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว Bio-Circular-Green Economy : ภาคการเกษตร
การให้ probiotic ชนิด Bacillus cereus และ Bacillus subtilis ผสมอาหารปลานิล ที่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโต สุขภาพของลำไส้ และความต้านทานต่อการติดเชื้อ Streptococcus agalactiae
การใช้ probiotics prebiotics และ synbiotics ในปลานิล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโต และการป้องกันการติดเชื้อ Aeromonas hydrophila
ปลานิลและซินไบโอติก
ปลาเทราต์กับซินไบโอติก
การฆ่าเชื้อโรคอุปกรณ์ส่วนตัว และน้ำ
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (3)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
วัคซีน Covid-19 หนึ่งในวิธีป้องกันโรค
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรคกรณีฉุกเฉิน และการเลือกใช้สารฆ่าเชื้อ
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรค ในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์
ซินไบโอติกกับแบคทีเรียประจำถิ่นในลำไส้กุ้งกุ้ง
ซินไบโอติกกับภูมิคุ้มกันของกุ้ง
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
คำแนะนำสำหรับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิวไข่ปลาแซลมอน
การประเมินโปรไบโอติก
การควบคุมเพศในสัตว์น้ำผ่านการจัดการชุดโครโมโซม
แอบดูจีนเลี้ยงกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำความรู้จัก…เปปไทด์ต้านจุลชีพ
โลกยุค 4.0 กับการเฝ้าระวังโรค
วิเคราะห์ข่าว หมู ไก่
อาหารสัตว์และเรื่องของสารพิษจากเชื้อรา
ซินไบโอติก (Synbiotics) สำหรับสัตว์น้ำ
ระบบนิเวศของแบคทีเรียในบ่อกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำไมสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์จึงไม่มีรายงานความเสี่ยงต่อไวรัส COVID-19
น้องใหม่ตัวร้ายไวรัสในกุ้ง Decapod Iridescent Virus 1 (DIV1)
ต้านวิบริโอด้วยโปรไบโอติก
ก้งุ โปรไบโอติก การเจริญเติบโต การย่อยอาหาร
แมงดากับงานด้านการแพทย์
คาเวียร์ ไข่จากปลาที่ใกล้สูญพันธุ์
การตรวจโรคทางห้องปฏิบัติการและการนำไปใช้
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (2)
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (1)
ระบบข้อมูลสุขภาพสัตว์โลก
น้ำปลา ความอร่อยจากอดีตสู่ยุคใส่ใจสุขภาพ
โรคอุบัติใหม่ในสัตว์น้ำของประเทศไทยในอดีต
โรคอุบัติใหม่ไม่ไกลตัว Novel Coronavirus
เรื่องกุ้งกับโปรไบโอติก (2)
ความสำคัญของการรายงานการระบาดของโรคกับสุขภาพสัตว์น้ำ
ยกระดับ from farm-to-table ด้วยสี่เสาหลักด้านคุณภาพ
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (2)
คู่มือป้องกัน โรคโควิด-19
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (1)
Climate change ภาวะโลกร้อนกับสุขภาพของปลา (2)