nanobubbles
ReadyPlanet.com
nanobubbles

                                        

ชื่อบทความ   nanobubbles

คำสำคัญ      nanobubbles

สวัสดีค่ะผู้อ่านชาวฟาร์มวันนี้จะมาเล่าให้ฟังถึงเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ช่วยสนับสนุนระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำ และทำให้เกิดการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างยั่งยืนนะคะ บางท่านอาจเคยได้ยินกันมาบ้างเกี่ยวกับ nanobubbles และอุปกรณ์ที่ผลิต nanobubbles หรือฟองอากาศขนาดนาโน ซึ่งตอนนี้กำลังเป็นที่นิยมนำมาใช้กันมากขึ้นในระบบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยปัจจุบันมีการศึกษาเกี่ยวกับ nanobubbles ทั้งด้านการปรับปรุงการผลิตและการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น

ก่อนจะกล่าวถึง nanobubbles ก็ต้องพูดถึงเรื่องความสำคัญของออกซิเจนก่อน ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าออกซิเจนมีความสำคัญต่อชีวิตมากๆ สำหรับสัตว์น้ำเองก็มีการใช้ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำสำหรับการดำรงชีวิต ระดับออกซิเจนที่ต่ำจะมีผลต่อสุขภาพและการรอดชีวิตของสัตว์น้ำ มีผลกระทบต่อผลผลิตของฟาร์ม รวมทั้งมีผลต่อการย่อยสลายของเสียอินทรีย์ในบ่อเลี้ยงด้วย

การเพิ่มหรือเติมอากาศในบ่อน้ำมีความสำคัญอย่างมากในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิธีที่พบได้ทั่วไปในปัจจุบันคือการใช้กังหันน้ำ ใช้หัวทรายหรือ airstones อัดอากาศผ่านสายยางที่ต่อกับหัวทราย อากาศที่เคลื่อนตัวผ่านหัวทรายจะถูกอัดผ่านรูพรุน ทำให้เกิดฟองอากาศในน้ำและช่วยในการละลายของออกซิเจนในน้ำ ซึ่งเป็นฟองอากาศขนาดใหญ่ที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า

ตามปกติแล้วออกซิเจนในบรรยากาศจะละลายเข้าไปในชั้นบนสุดของน้ำ โดยการกวนน้ำหรือการเคลื่อนไหวของผิวน้ำทางกายภาพ ในขณะที่เครื่องเติมอากาศแบบเก่าจะละลายออกซิเจนได้เฉลี่ยประมาณ 3% ต่อน้ำ 1 ฟุต ฟองอากาศจะลอยขึ้นสู่ผิวน้ำอย่างรวดเร็ว ออกซิเจนจะยังละลายอยู่ในน้ำชั้นบนสุด ทำให้พบว่าปลาจะว่ายอยู่บริเวณผิวน้ำเพื่อรับออกซิเจน ในขณะที่ก้นบ่อจะขาดออกซิเจนส่งผลให้แบคทีเรียที่ใช้อากาศตรึงไนโตรเจน (aerobic nitrifying bacteria) ไม่สามารถทำลายของเสียได้ และทำให้เกิดชั้นตะกอนของเสียที่กักเก็บเชื้อโรค ส่งผลให้คุณภาพน้ำเสื่อมลงได้อย่างรวดเร็ว

ในขณะที่ nanobubbles คือ ฟองอากาศเล็กๆ ละเอียด ที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า การอัดอากาศให้กระจายอย่างรวดเร็วในน้ำจะทำให้เกิด nanobubbles ได้ ฟองอากาศขนาดนาโนเหล่านี้จะสามารถละลายอยู่ในน้ำได้นานและไม่ลอยขึ้นไปที่ผิวน้ำอย่างรวดเร็วเหมือนฟองอากาศขนาดใหญ่ ทำให้น้ำที่มีการเติมฟองอากาศขนาดจิ๋วนาโนลงไปมีปริมาณออกซิเจนสูง และคงตัวอยู่ได้ยาวนานกว่าการเติมอากาศแบบทั่วไป พบว่าอุปกรณ์ที่ผลิต nanobubbles บางรุ่นจะมีประสิทธิภาพการถ่ายเทออกซิเจนสูงถึง 85% หรือเกือบ 30 เท่าของอัตราการเติมอากาศแบบทั่วไป ซึ่งสูงกว่าระบบเติมออกซิเจนอื่นๆ อย่างเห็นได้ชัด

จากการศึกษาพบว่าการนำฟองอากาศนาโนมาใช้ มีประโยชน์หลายอย่าง เช่น กำจัดสิ่งสกปรก และฆ่าเชื้อที่บริเวณผิวน้ำ ทำลายสาหร่าย ทำลาย biofilms และยังสามารถทำลายเชื้อโรคได้ ฟองอากาศนาโนจะ

สามารถปล่อยอนุมูลอิสระประเภท hydroxyl radicals ซึ่งช่วยลดการปนเปื้อนได้ คุณสมบัติของฟองอากาศนาโนที่เล่ามาข้างต้น จึงทำให้ได้รับความนิยมในการนำเทคโนโลยีฟองอากาศนาโนมาใช้ในกิจกรรมการจัดการน้ำเสีย เนื่องจากเป็นเครื่องมือบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพสูง

สำหรับการนำอุปกรณ์ที่ผลิต nanobubbles มาใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ จะช่วยเพิ่มปริมาณความหนาแน่นของออกซิเจนในบ่อโดยไม่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้ำ ในขณะเดียวกันก็มีส่วนช่วยในการลดเชื้อก่อโรค ซึ่งในปัจจุบันในท้องตลาดมีอุปกรณ์ที่ผลิต nanobubbles ได้ในกำลังการผลิตที่แตกต่างกันไป ดังนั้น การเลือกใช้ก็จะต้องพิจารณาองค์ประกอบของระบบการผลิตให้เหมาะสมด้วย

บทความหน้าเรามาดูกันว่าในการศึกษาเรื่องการนำ nanobubbles มาใช้ในการผลิตสัตว์น้ำมีประเด็นอะไรน่าสนใจกันบ้างนะคะ

สัตวแพทย์หญิง ดร.มินตรา ลักขณา (หมอเมย์)
อ.น.สพ.ดร. ภัทรพล เปี่ยมสมบูรณ์ (หมอเอก) 



  




Farm story

วิตามินซีคนทานได้ ปลากินดี
งานวิจัย ขิง กับ ยากำจัดวัชพืช
โปรไบโอติกแบบ multi-species
ขมิ้นชันในอาหารปลานิล
อาหารสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ปลาเสมือนจริงทดแทนการใช้สัตว์ทดลอง
การใช้สมุนไพรเป็นยาสลบกับปลาเรนโบว์เทราต์
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (3/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (2/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (1/3)
ความสัมพันธ์ของพยาธิตืดในปลากับแบคทีเรียตัวร้าย
โปรตีนจากเคยและการเลี้ยงกุ้ง
Nutraceuticals และการรักษาโรค AGD ในปลาแซลมอน
การป้องกันดีกว่าการรักษา วัคซีนคุณภาพ หยุดการระบาดของโรคสัตว์
nanobubbles และการเพาะเลี้ยงกุ้ง
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #2
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #1
ยีสต์ทำขนมปังกับโปรไบโอติก
จุลินทรีย์ในลำไส้ปลา
ผลกระทบของ Covid19 ต่อตลาดปลาเทอร์บอตและคาเวียร์ของสหภาพยุโรป
โปรตีนทางเลือกกับปัญหาโรค EMS ในการเลี้ยงกุ้ง
"แมลงกับอุสาหกรรมอาหารสัตว์เลี้ยง"
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #10
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #9
การสนับสนุนความยั่งยืนในการประมง
กระแสความต้องการประมงยั่งยืน โอกาสและความท้าทายสำหรับปลานิล
African swine fever
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #8
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #7
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #6
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #5
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #4
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #3
พืชสมุนไพรกับสุขภาพปลา
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #2
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #1
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE
ปลาแซลมอน ในอาร์เจนตินา
โปรตีนทางเลือก
กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนประชาคมระหว่างประเทศในการพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ และสวัสดิภาพสัตว์น้ำของ OIE
ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ของ OIE
อาหารในโลกอนาคต
โปรไบโอติก Bacillus pumilus กับวิบริโอ
probiotic กับสารสกัดอินทผลัม
การยึดเกาะของโปรไบโอติก
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่งและเรื่องที่ควรทำหลังขนส่ง
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (1)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (1)
“อาหารปลอดภัย” “สิ่งแวดล้อม” “สวัสดิภาพสัตว์” กับการเลี้ยงสัตว์ปัจจุบัน
เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว Bio-Circular-Green Economy : ภาคการเกษตร
การให้ probiotic ชนิด Bacillus cereus และ Bacillus subtilis ผสมอาหารปลานิล ที่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโต สุขภาพของลำไส้ และความต้านทานต่อการติดเชื้อ Streptococcus agalactiae
การใช้ probiotics prebiotics และ synbiotics ในปลานิล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโต และการป้องกันการติดเชื้อ Aeromonas hydrophila
ปลานิลและซินไบโอติก
ปลาเทราต์กับซินไบโอติก
การฆ่าเชื้อโรคอุปกรณ์ส่วนตัว และน้ำ
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (3)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
วัคซีน Covid-19 หนึ่งในวิธีป้องกันโรค
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรคกรณีฉุกเฉิน และการเลือกใช้สารฆ่าเชื้อ
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรค ในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์
ซินไบโอติกกับแบคทีเรียประจำถิ่นในลำไส้กุ้งกุ้ง
ซินไบโอติกกับภูมิคุ้มกันของกุ้ง
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
คำแนะนำสำหรับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิวไข่ปลาแซลมอน
การประเมินโปรไบโอติก
การควบคุมเพศในสัตว์น้ำผ่านการจัดการชุดโครโมโซม
แอบดูจีนเลี้ยงกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำความรู้จัก…เปปไทด์ต้านจุลชีพ
โลกยุค 4.0 กับการเฝ้าระวังโรค
วิเคราะห์ข่าว หมู ไก่
อาหารสัตว์และเรื่องของสารพิษจากเชื้อรา
ซินไบโอติก (Synbiotics) สำหรับสัตว์น้ำ
ระบบนิเวศของแบคทีเรียในบ่อกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำไมสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์จึงไม่มีรายงานความเสี่ยงต่อไวรัส COVID-19
น้องใหม่ตัวร้ายไวรัสในกุ้ง Decapod Iridescent Virus 1 (DIV1)
ต้านวิบริโอด้วยโปรไบโอติก
ก้งุ โปรไบโอติก การเจริญเติบโต การย่อยอาหาร
แมงดากับงานด้านการแพทย์
คาเวียร์ ไข่จากปลาที่ใกล้สูญพันธุ์
การตรวจโรคทางห้องปฏิบัติการและการนำไปใช้
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (2)
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (1)
ระบบข้อมูลสุขภาพสัตว์โลก
น้ำปลา ความอร่อยจากอดีตสู่ยุคใส่ใจสุขภาพ
โรคอุบัติใหม่ในสัตว์น้ำของประเทศไทยในอดีต
โรคอุบัติใหม่ไม่ไกลตัว Novel Coronavirus
เรื่องกุ้งกับโปรไบโอติก (2)
ความสำคัญของการรายงานการระบาดของโรคกับสุขภาพสัตว์น้ำ
ยกระดับ from farm-to-table ด้วยสี่เสาหลักด้านคุณภาพ
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (2)
คู่มือป้องกัน โรคโควิด-19
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (1)
Climate change ภาวะโลกร้อนกับสุขภาพของปลา (2)