Introduce
ReadyPlanet.com
Introduce

วันนี้ทางแอดมินขออนุญาตแนะนำคุณหมอ จำนวน 2 ท่านนะคะคุณหมอจะมาให้ความรู้และระบบการจัดการ

ด้านต่างๆเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ในคอลัมน์ Farm Story ซึ่งคุณหมอจะมีความรู้และเทคนิคใน

การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำมาให้ผู้อ่านได้ศึกษากันในทุกๆสัปดาห์ ยังไงก็รอติดตามกันด้วยนะคะ เอาเป็นว่ามารู้จัก

คุณหมอท่านแรกก่อนเลยนะคะ

 

สัตวแพทย์หญิง ดร.มินตรา ลักขณา (หมอเม)

(Mintra Lukkana, DVM, MSc, PhD)

ปริญญาตรี (เกียรตินิยม2549 คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริญญาโท (สัตวแพทย์สาธารณสุข2553 คณะสัตวแพทยศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริญญาเอก (อายุรศาสตร์2558 คณะสัตวแพทยศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

ตำแหน่งปัจจุบัน :  นายสัตวแพทย์ชำนาญการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สมัยเรียนปริญญาตรีปีที่ 5 (สัตวแพทย์จะเรียน 6 ปีเหมือนแพทย์) นิสิตทุกคนต้องทำงานวิจัยเป็น project เล็กๆ

ตอนนั้นก็ยังไม่ชัดเจนว่าถ้าจะเลือกทำ project ด้านอะไรดีรู้แต่ว่าไม่ค่อยถนัดเรื่องสัตว์เลี้ยง ไม่ชอบเสียงหมู

และก็ไม่อยากเสี่ยงกับการเข้าใกล้วัวเพราะว่าตัวใหญ่ แรงเยอะก็มีเพื่อนในรุ่นเดียวกันชวนมาทำ project วิจัย

เกี่ยวกับปลานิลพอได้สัมผัสก็รู้สึกว่าบรรยากาศค่อนข้างจะโอเค เงียบสงบดีถึงแม้เวลาออกพื้นที่จะร้อนไปหน่อย

ทำให้หลังจากนั้นเลยสนใจงานที่เกี่ยวข้องกับสัตว์น้ำมากกว่าสัตว์ประเภทอื่น พอเรียนปริญญาโทด้านสัตวแพทย์

สาธารณสุขและปริญญาเอกด้านอายุรศาตร์เลยเลือกหัวข้องานวิจัยที่เกี่ยวข้อกับสัตว์น้ำนอกเหนือจากงานประจำ

ซึ่งเป็นงานเอกสารซะส่วนใหญ่เวลาว่างชอบค้นหาข้อมูลท่องเที่ยว จากอินเตอร์เน็ตเข้าร้านหนังสือและก็ชอบ

วางแผนเที่ยวเอาไว้เผื่อมีเวลาว่างจะได้มีตัวเลือกว่าจะไปเที่ยวที่ไหนบ้างคะ

 

 

และสำหรับท่านที่ 2 นะคะ

.นสพ.ดร. ภัทรพล เปี่ยมสมบูรณ์ (หมอเอก)

(Pathradol Piamsomboon , DVM , PhD)

ปริญญาตรี (เกียรตินิยม) 2554 คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริญญาเอก (อายุรศาสตร์) 2559 คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

ตำแหน่งปัจจุบัน

* อาจารย์คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

* Postdoctoral researcher, Aquaculture Pathology Laboratory, University of Arizona, USA

จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะสัตวแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรุ่นที่ 69 เนื่องจากมีความสนใจ

ทางด้านสัตว์น้ำเศรษฐกิจจึงได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก สาขาอายุรศาสตร์สัตว์น้ำ โดยมี

รศ.สพ..ดร. เจนนุช ว่องธวัชชัย เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาและจบการปริญญาเอกในปี .. 2559 ที่ผ่านมา




Farm story

วิตามินซีคนทานได้ ปลากินดี
งานวิจัย ขิง กับ ยากำจัดวัชพืช
โปรไบโอติกแบบ multi-species
ขมิ้นชันในอาหารปลานิล
อาหารสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ปลาเสมือนจริงทดแทนการใช้สัตว์ทดลอง
การใช้สมุนไพรเป็นยาสลบกับปลาเรนโบว์เทราต์
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (3/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (2/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (1/3)
ความสัมพันธ์ของพยาธิตืดในปลากับแบคทีเรียตัวร้าย
โปรตีนจากเคยและการเลี้ยงกุ้ง
Nutraceuticals และการรักษาโรค AGD ในปลาแซลมอน
การป้องกันดีกว่าการรักษา วัคซีนคุณภาพ หยุดการระบาดของโรคสัตว์
nanobubbles และการเพาะเลี้ยงกุ้ง
nanobubbles
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #2
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #1
ยีสต์ทำขนมปังกับโปรไบโอติก
จุลินทรีย์ในลำไส้ปลา
ผลกระทบของ Covid19 ต่อตลาดปลาเทอร์บอตและคาเวียร์ของสหภาพยุโรป
โปรตีนทางเลือกกับปัญหาโรค EMS ในการเลี้ยงกุ้ง
"แมลงกับอุสาหกรรมอาหารสัตว์เลี้ยง"
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #10
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #9
การสนับสนุนความยั่งยืนในการประมง
กระแสความต้องการประมงยั่งยืน โอกาสและความท้าทายสำหรับปลานิล
African swine fever
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #8
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #7
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #6
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #5
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #4
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #3
พืชสมุนไพรกับสุขภาพปลา
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #2
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #1
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE
ปลาแซลมอน ในอาร์เจนตินา
โปรตีนทางเลือก
กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนประชาคมระหว่างประเทศในการพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ และสวัสดิภาพสัตว์น้ำของ OIE
ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ของ OIE
อาหารในโลกอนาคต
โปรไบโอติก Bacillus pumilus กับวิบริโอ
probiotic กับสารสกัดอินทผลัม
การยึดเกาะของโปรไบโอติก
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่งและเรื่องที่ควรทำหลังขนส่ง
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (1)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (1)
“อาหารปลอดภัย” “สิ่งแวดล้อม” “สวัสดิภาพสัตว์” กับการเลี้ยงสัตว์ปัจจุบัน
เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว Bio-Circular-Green Economy : ภาคการเกษตร
การให้ probiotic ชนิด Bacillus cereus และ Bacillus subtilis ผสมอาหารปลานิล ที่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโต สุขภาพของลำไส้ และความต้านทานต่อการติดเชื้อ Streptococcus agalactiae
การใช้ probiotics prebiotics และ synbiotics ในปลานิล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโต และการป้องกันการติดเชื้อ Aeromonas hydrophila
ปลานิลและซินไบโอติก
ปลาเทราต์กับซินไบโอติก
การฆ่าเชื้อโรคอุปกรณ์ส่วนตัว และน้ำ
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (3)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
วัคซีน Covid-19 หนึ่งในวิธีป้องกันโรค
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรคกรณีฉุกเฉิน และการเลือกใช้สารฆ่าเชื้อ
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรค ในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์
ซินไบโอติกกับแบคทีเรียประจำถิ่นในลำไส้กุ้งกุ้ง
ซินไบโอติกกับภูมิคุ้มกันของกุ้ง
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
คำแนะนำสำหรับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิวไข่ปลาแซลมอน
การประเมินโปรไบโอติก
การควบคุมเพศในสัตว์น้ำผ่านการจัดการชุดโครโมโซม
แอบดูจีนเลี้ยงกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำความรู้จัก…เปปไทด์ต้านจุลชีพ
โลกยุค 4.0 กับการเฝ้าระวังโรค
วิเคราะห์ข่าว หมู ไก่
อาหารสัตว์และเรื่องของสารพิษจากเชื้อรา
ซินไบโอติก (Synbiotics) สำหรับสัตว์น้ำ
ระบบนิเวศของแบคทีเรียในบ่อกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำไมสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์จึงไม่มีรายงานความเสี่ยงต่อไวรัส COVID-19
น้องใหม่ตัวร้ายไวรัสในกุ้ง Decapod Iridescent Virus 1 (DIV1)
ต้านวิบริโอด้วยโปรไบโอติก
ก้งุ โปรไบโอติก การเจริญเติบโต การย่อยอาหาร
แมงดากับงานด้านการแพทย์
คาเวียร์ ไข่จากปลาที่ใกล้สูญพันธุ์
การตรวจโรคทางห้องปฏิบัติการและการนำไปใช้
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (2)
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (1)
ระบบข้อมูลสุขภาพสัตว์โลก
น้ำปลา ความอร่อยจากอดีตสู่ยุคใส่ใจสุขภาพ
โรคอุบัติใหม่ในสัตว์น้ำของประเทศไทยในอดีต
โรคอุบัติใหม่ไม่ไกลตัว Novel Coronavirus
เรื่องกุ้งกับโปรไบโอติก (2)
ความสำคัญของการรายงานการระบาดของโรคกับสุขภาพสัตว์น้ำ
ยกระดับ from farm-to-table ด้วยสี่เสาหลักด้านคุณภาพ
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (2)
คู่มือป้องกัน โรคโควิด-19
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (1)