การตรวจคุณภาพน้ำเบื้องต้นทำอย่างไร
ReadyPlanet.com
การตรวจคุณภาพน้ำเบื้องต้นทำอย่างไร

เราจะรู้ได้อย่างไรว่าน้ำที่นำมาใช้เลี้ยงปลามีคุณภาพดีเหมาะสมกับการนำมาเลี้ยงปลาหรือไม่การตรวจคุณภาพน้ำอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอเป็นหัวใจสำคัญอย่างหนึ่งของการจัดการคุณภาพน้ำเพื่อประโยชน์ในการดูแลจัดการสุขภาพปลาในระหว่างการเลี้ยงอย่างมีประสิทธิภาพ

 

ปัจจุบันมีวิธีการตรวจคุณภาพน้ำอยู่หลายวิธีและมีค่าใช้จ่ายแตกต่างกันไปตามเทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช้ทดสอบโดยทั่วไปจะสามารถตรวจค่าคุณภาพน้ำได้ 2 แบบ ได้แก่

     - วัดค่าคุณภาพน้ำที่ต้องการทราบที่แหล่งน้ำโดยตรง เช่นใช้เครื่องวัดคุณภาพน้ำแบบพกพาจุ่มหัววัดลงในน้ำและอ่านผลทันที

     - เก็บตัวอย่างน้ำใส่ภาชนะมาตรวจริมบ่อหรือส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและสามารถแบ่งการตรวจคุณภาพน้ำออกได้เป็น 3 ด้าน ดังนี้

   - คุณภาพทางกายภาพ เช่น สี กลิ่น อุณหภูมิ ความขุ่นและความโปร่งแสง การตรวจสี กลิ่น มักใช้การสังเกตเป็นหลักโดยสังเกตจากแหล่งน้ำโดยตรงหรือตักน้ำมาสังเกตอย่างน้อย 2 ลิตร การวัดอุณหภูมิมักใช้เทอร์โมมิเตอร์และเครื่องวัดแบบพกพาสำหรับความขุ่นและความโปร่งแสงมักวัดที่แหล่งน้ำโดยตรงด้วยจานวัดความโปร่งใส (Secchi Disk)

     - คุณภาพทางเคมี เช่น ค่าความเป็นกรด-ด่าง ความเค็ม แอมโมเนีย ไนไตรท์ วิธีการตรวจที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไป คือ การใช้ชุดทดสอบภาคสนาม หรือที่เรียกสั้นๆ ว่าการใช้ test kit โดยการใส่สารเคมีลงในตัวอย่างน้ำตามที่บริษัทผู้ผลิตระบุไว้ในคู่มือการใช้ชุดทดสอบ ซึ่งสารเคมีจะทำปฏิกิริยากับตัวอย่างน้ำแล้วเปลี่ยนสีจากนั้นจึงแปลผลที่ได้โดยเทียบสีที่พบตามแผ่นเทียบสีที่แนบมากับชุดทดสอบ นอกจากนี้ยังสามารถส่งมาตรวจในห้องปฏิบัติการได้ ในส่วนของค่าออกซิเจนละลายในน้ำอาจใช้ชุดทดสอบออกซิเจนละลายเครื่องวัดออกซิเจนในน้ำ (Dissolved Oxygen Meter) แบบพกพาหรือเก็บตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการมาตรวจโดยวิธีการไตเตรทได้เช่นกัน

     - คุณภาพทางชีวภาพ เช่น ปริมาณเชื้อแบคทีเรียรวมปริมาณเชื้อแบคทีเรียเฉพาะกลุ่มการตรวจค่าคุณภาพน้ำด้านนี้ต้องใช้ความรู้และความชำนาญสูงโดยทั่วไปจึงมักเก็บตัวอย่างน้ำส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการทั้งนี้ ในการตรวจวัดค่าต่างๆ ทุกครั้งของการตรวจควรจดบันทึกวันเดือนปีเวลาที่วัดค่า/เวลาที่เก็บตัวอย่างน้ำมาตรวจเนื่องจากค่าคุณภาพมีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูหรือเปลี่ยนแปลงในรอบวันได้จึงต้องบันทึกค่าที่ได้อย่างละเอียดรวมทั้งข้อมูลการจัดการคุณภาพน้ำไว้ด้วยเพื่อจะได้เป็นข้อมูลของฟาร์มในการวางแผนการทำงานเฝ้าระวังค่าคุณภาพน้ำที่เปลี่ยนแปลงจนอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพปลาเพื่อจะได้วางแผนแก้ไขป้องกันอย่างรวดเร็วและลดการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นในการเลี้ยงปลานอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลสำคัญในการหาสาเหตุความผิดปกติของปลาได้


สัตวแพทย์หญิง ดร.มินตรา ลักขณา (หมอเม)
อ.น.สพ.ดร. ภัทรพล เปี่ยมสมบูรณ์ (หมอเอก)

 

Mintra Lukkana, DVM, MSc, PhD
Pathradol Piamsomboon , DVM , PhD

 





  




Farm story

วิตามินซีคนทานได้ ปลากินดี
งานวิจัย ขิง กับ ยากำจัดวัชพืช
โปรไบโอติกแบบ multi-species
ขมิ้นชันในอาหารปลานิล
อาหารสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ปลาเสมือนจริงทดแทนการใช้สัตว์ทดลอง
การใช้สมุนไพรเป็นยาสลบกับปลาเรนโบว์เทราต์
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (3/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (2/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (1/3)
ความสัมพันธ์ของพยาธิตืดในปลากับแบคทีเรียตัวร้าย
โปรตีนจากเคยและการเลี้ยงกุ้ง
Nutraceuticals และการรักษาโรค AGD ในปลาแซลมอน
การป้องกันดีกว่าการรักษา วัคซีนคุณภาพ หยุดการระบาดของโรคสัตว์
nanobubbles และการเพาะเลี้ยงกุ้ง
nanobubbles
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #2
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #1
ยีสต์ทำขนมปังกับโปรไบโอติก
จุลินทรีย์ในลำไส้ปลา
ผลกระทบของ Covid19 ต่อตลาดปลาเทอร์บอตและคาเวียร์ของสหภาพยุโรป
โปรตีนทางเลือกกับปัญหาโรค EMS ในการเลี้ยงกุ้ง
"แมลงกับอุสาหกรรมอาหารสัตว์เลี้ยง"
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #10
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #9
การสนับสนุนความยั่งยืนในการประมง
กระแสความต้องการประมงยั่งยืน โอกาสและความท้าทายสำหรับปลานิล
African swine fever
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #8
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #7
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #6
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #5
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #4
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #3
พืชสมุนไพรกับสุขภาพปลา
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #2
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #1
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE
ปลาแซลมอน ในอาร์เจนตินา
โปรตีนทางเลือก
กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนประชาคมระหว่างประเทศในการพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ และสวัสดิภาพสัตว์น้ำของ OIE
ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ของ OIE
อาหารในโลกอนาคต
โปรไบโอติก Bacillus pumilus กับวิบริโอ
probiotic กับสารสกัดอินทผลัม
การยึดเกาะของโปรไบโอติก
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่งและเรื่องที่ควรทำหลังขนส่ง
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (1)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (1)
“อาหารปลอดภัย” “สิ่งแวดล้อม” “สวัสดิภาพสัตว์” กับการเลี้ยงสัตว์ปัจจุบัน
เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว Bio-Circular-Green Economy : ภาคการเกษตร
การให้ probiotic ชนิด Bacillus cereus และ Bacillus subtilis ผสมอาหารปลานิล ที่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโต สุขภาพของลำไส้ และความต้านทานต่อการติดเชื้อ Streptococcus agalactiae
การใช้ probiotics prebiotics และ synbiotics ในปลานิล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโต และการป้องกันการติดเชื้อ Aeromonas hydrophila
ปลานิลและซินไบโอติก
ปลาเทราต์กับซินไบโอติก
การฆ่าเชื้อโรคอุปกรณ์ส่วนตัว และน้ำ
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (3)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
วัคซีน Covid-19 หนึ่งในวิธีป้องกันโรค
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรคกรณีฉุกเฉิน และการเลือกใช้สารฆ่าเชื้อ
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรค ในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์
ซินไบโอติกกับแบคทีเรียประจำถิ่นในลำไส้กุ้งกุ้ง
ซินไบโอติกกับภูมิคุ้มกันของกุ้ง
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
คำแนะนำสำหรับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิวไข่ปลาแซลมอน
การประเมินโปรไบโอติก
การควบคุมเพศในสัตว์น้ำผ่านการจัดการชุดโครโมโซม
แอบดูจีนเลี้ยงกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำความรู้จัก…เปปไทด์ต้านจุลชีพ
โลกยุค 4.0 กับการเฝ้าระวังโรค
วิเคราะห์ข่าว หมู ไก่
อาหารสัตว์และเรื่องของสารพิษจากเชื้อรา
ซินไบโอติก (Synbiotics) สำหรับสัตว์น้ำ
ระบบนิเวศของแบคทีเรียในบ่อกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำไมสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์จึงไม่มีรายงานความเสี่ยงต่อไวรัส COVID-19
น้องใหม่ตัวร้ายไวรัสในกุ้ง Decapod Iridescent Virus 1 (DIV1)
ต้านวิบริโอด้วยโปรไบโอติก
ก้งุ โปรไบโอติก การเจริญเติบโต การย่อยอาหาร
แมงดากับงานด้านการแพทย์
คาเวียร์ ไข่จากปลาที่ใกล้สูญพันธุ์
การตรวจโรคทางห้องปฏิบัติการและการนำไปใช้
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (2)
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (1)
ระบบข้อมูลสุขภาพสัตว์โลก
น้ำปลา ความอร่อยจากอดีตสู่ยุคใส่ใจสุขภาพ
โรคอุบัติใหม่ในสัตว์น้ำของประเทศไทยในอดีต
โรคอุบัติใหม่ไม่ไกลตัว Novel Coronavirus
เรื่องกุ้งกับโปรไบโอติก (2)
ความสำคัญของการรายงานการระบาดของโรคกับสุขภาพสัตว์น้ำ
ยกระดับ from farm-to-table ด้วยสี่เสาหลักด้านคุณภาพ
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (2)
คู่มือป้องกัน โรคโควิด-19
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (1)