ผลของอุณหภูมิต่อสุขภาพปลา
ReadyPlanet.com
ผลของอุณหภูมิต่อสุขภาพปลา

 

กรมอุตุนิยมวิทยา ออกประกาศแจ้งเรื่อง "การเข้าสู่ฤดูร้อนของประเทศไทย ปี 2560" และอธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยาก็ออกมาให้ข่าวว่าฤดูร้อนของไทยในปีนี้อุณหภูมิจะค่อนข้างสูงประมาณ 42 - 43 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเดือนเมษายนและจะหมดฤดูร้อนประมาณกลางเดือนพฤษภาคม 2560 ภาคที่ร้อนที่สุด คือ ภาคเหนือ รองลงมา คือ อิสานและภาคกลางตามลำดับ ฟังแบบนี้หลายๆ คนเริ่มกังวลว่าอุณหภูมิในหน้าร้อนรอบนี้จะผลต่อสุขภาพปลายังไง เพราะโดยทั่วไปค่าอุณหภูมิน้ำที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงปลาในเขตร้อนอยู่ในช่วง 25-32 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิของสภาพแวดล้อมมีผลต่ออุณหภูมิภายในร่างกายของปลาเนื่องจากปลาเป็นสัตว์เลือดเย็น การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันโรคจะเป็นปกติเมื่ออุณหภูมิน้ำอยู่ในช่วงเดียวกับอุณหภูมิทางสรีระ (physiological range) ปลาจะมีอัตราการเผาผลาญของร่างกาย (metabolic rates) เพิ่มขึ้นถ้าน้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้นสำหรับปลาส่วนใหญ่ถ้าอุณหภูมิของน้ำเพิ่มขึ้น 10 องศาเซลเซียสจะมีผลให้อัตราการเผาผลาญของร่างกายเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของปกติ ซึ่งสัตว์น้ำแต่ละชนิดจะมีความสามารถในการปรับตัวต่ออุณหภูมิและอัตราการเผาผลาญของร่างกายที่เพิ่มขึ้นแตกต่างกันไป เมื่ออุณหภูมิน้ำสูงขึ้นจะพบว่าปลามีการว่ายน้ำมากขึ้นการทำงานของระบบย่อยอาหารเพิ่มขึ้นและมีอัตราการหายใจที่เร็วขึ้น สังเกตได้จากความถี่ในการเปิดปิดของแผ่นปิดเหงือกการเพิ่มอัตราการหายใจทำให้ปริมาณการใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้นซึ่งอาจเป็นอันตรายหากสภาวะนี้คงอยู่หรือเพิ่มขึ้นเป็นระยะเวลานาน ซึ่งมีผลต่อปริมาณออกซิเจนที่ละลายในบ่อเลี้ยงถูกใช้ไปเรื่อยๆ ทั้งจากปลา พืชน้ำและแพลงตอนพืช เมื่อถึงสภาวะที่ปลาทนร้อนไม่ได้หรือมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิฉับพลันปลาจะปรับสภาพไม่ทันรวมทั้งอาจขาดออกซิเจนและตายได้อุณหภูมิน้ำจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพอากาศแล้วยังมีปัจจัยอื่นๆ อีกที่มีผลต่ออุณหภูมิของน้ำ เช่น ความแรงลม ความลึกของแหล่งน้ำ ความเข้มของแสงอาทิตย์ และความโปร่งของน้ำด้วยเช่นกันและนอกจากอุณหภูมิจะมีผลต่อสัตว์น้ำแล้วยังมีผลต่อคุณภาพน้ำด้านอื่นๆ ด้วย เช่น ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ ความหนืดของน้ำ การแบ่งชั้นของน้ำ จึงควรเฝ้าระวังตรวจสอบอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงอย่างสม่ำเสมอและควรมีแผน/มาตรการในการควบคุมอุณหภูมิในบ่อเลี้ยง เช่นการติดตั้งตาข่ายกรองแสงเพื่อลดความเข้มแสงของดวงอาทิตย์ที่ส่องลงในบ่อเลี้ยง เพื่อให้อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงหรือส่งผลกระทบต่อสุขภาพปลาให้น้อยที่สุด


สัตวแพทย์หญิง ดร.มินตรา ลักขณา (หมอเม)
อ.น.สพ.ดร. ภัทรพล เปี่ยมสมบูรณ์ (หมอเอก)

 

 

 

The Thai Meteorological Department has announced “The beginning of summer of Thailand 2017” The director general has stated that “High temperature is expected, in the range between 42-43 o C, especially during April which the summer will end in mid-May. The highest temperature is expected in the northern part, follows by the north-eastern and the central region.”

The statement may cause some concerns to the farmers that 
this hot weather might affect their fish.

Basically, the optimum temperature for tropical fish culture is 
between 25-32 o C.

And. Have you ever wonder “Why surrounding temperature 
is so important to fish?”

Because,

Fish are poikilothermic (cold-blooded) animal, which means their body temperature varies, depending on the surrounding temperature.

More, the immune system of fish can function properly only when the surrounding temperature are in normal physiological range. For example, if the water temperature rises for 10 o C, fish metabolic rate may be double.

So. What you can see when water temperature increases?

     - First, you may see the fish swim faster and their metabolic rate increases

     - Increase breathing. You may observe that fish move their operculum faster.

     - When fish in the pond is breathing faster, this means much more oxygen is being used. Therefore, dissolve oxygen (D.O.) will reduce significantly. This is dangerous! Because, in low oxygen situation, fish are weaker and might die from oxygen depletion and they would less resistance to the abrupt temperature change.

Not only air temperature has effect on water temperature, 
other factors such as, wind speed, water depth, light intensity and water turbidity also have some influences. Therefore, farm owner should have plan to manage the temperature in culture ponds.

For example, installing “shading net” to reduce light intensity that 
may cause excessive temperature change and damage our fish.

 

Mintra Lukkana, DVM, MSc, PhD
Pathradol Piamsomboon , DVM , PhD




  




Farm story

วิตามินซีคนทานได้ ปลากินดี
งานวิจัย ขิง กับ ยากำจัดวัชพืช
โปรไบโอติกแบบ multi-species
ขมิ้นชันในอาหารปลานิล
อาหารสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ปลาเสมือนจริงทดแทนการใช้สัตว์ทดลอง
การใช้สมุนไพรเป็นยาสลบกับปลาเรนโบว์เทราต์
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (3/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (2/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (1/3)
ความสัมพันธ์ของพยาธิตืดในปลากับแบคทีเรียตัวร้าย
โปรตีนจากเคยและการเลี้ยงกุ้ง
Nutraceuticals และการรักษาโรค AGD ในปลาแซลมอน
การป้องกันดีกว่าการรักษา วัคซีนคุณภาพ หยุดการระบาดของโรคสัตว์
nanobubbles และการเพาะเลี้ยงกุ้ง
nanobubbles
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #2
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #1
ยีสต์ทำขนมปังกับโปรไบโอติก
จุลินทรีย์ในลำไส้ปลา
ผลกระทบของ Covid19 ต่อตลาดปลาเทอร์บอตและคาเวียร์ของสหภาพยุโรป
โปรตีนทางเลือกกับปัญหาโรค EMS ในการเลี้ยงกุ้ง
"แมลงกับอุสาหกรรมอาหารสัตว์เลี้ยง"
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #10
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #9
การสนับสนุนความยั่งยืนในการประมง
กระแสความต้องการประมงยั่งยืน โอกาสและความท้าทายสำหรับปลานิล
African swine fever
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #8
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #7
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #6
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #5
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #4
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #3
พืชสมุนไพรกับสุขภาพปลา
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #2
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #1
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE
ปลาแซลมอน ในอาร์เจนตินา
โปรตีนทางเลือก
กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนประชาคมระหว่างประเทศในการพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ และสวัสดิภาพสัตว์น้ำของ OIE
ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ของ OIE
อาหารในโลกอนาคต
โปรไบโอติก Bacillus pumilus กับวิบริโอ
probiotic กับสารสกัดอินทผลัม
การยึดเกาะของโปรไบโอติก
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่งและเรื่องที่ควรทำหลังขนส่ง
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (1)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (1)
“อาหารปลอดภัย” “สิ่งแวดล้อม” “สวัสดิภาพสัตว์” กับการเลี้ยงสัตว์ปัจจุบัน
เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว Bio-Circular-Green Economy : ภาคการเกษตร
การให้ probiotic ชนิด Bacillus cereus และ Bacillus subtilis ผสมอาหารปลานิล ที่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโต สุขภาพของลำไส้ และความต้านทานต่อการติดเชื้อ Streptococcus agalactiae
การใช้ probiotics prebiotics และ synbiotics ในปลานิล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโต และการป้องกันการติดเชื้อ Aeromonas hydrophila
ปลานิลและซินไบโอติก
ปลาเทราต์กับซินไบโอติก
การฆ่าเชื้อโรคอุปกรณ์ส่วนตัว และน้ำ
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (3)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
วัคซีน Covid-19 หนึ่งในวิธีป้องกันโรค
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรคกรณีฉุกเฉิน และการเลือกใช้สารฆ่าเชื้อ
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรค ในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์
ซินไบโอติกกับแบคทีเรียประจำถิ่นในลำไส้กุ้งกุ้ง
ซินไบโอติกกับภูมิคุ้มกันของกุ้ง
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
คำแนะนำสำหรับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิวไข่ปลาแซลมอน
การประเมินโปรไบโอติก
การควบคุมเพศในสัตว์น้ำผ่านการจัดการชุดโครโมโซม
แอบดูจีนเลี้ยงกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำความรู้จัก…เปปไทด์ต้านจุลชีพ
โลกยุค 4.0 กับการเฝ้าระวังโรค
วิเคราะห์ข่าว หมู ไก่
อาหารสัตว์และเรื่องของสารพิษจากเชื้อรา
ซินไบโอติก (Synbiotics) สำหรับสัตว์น้ำ
ระบบนิเวศของแบคทีเรียในบ่อกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำไมสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์จึงไม่มีรายงานความเสี่ยงต่อไวรัส COVID-19
น้องใหม่ตัวร้ายไวรัสในกุ้ง Decapod Iridescent Virus 1 (DIV1)
ต้านวิบริโอด้วยโปรไบโอติก
ก้งุ โปรไบโอติก การเจริญเติบโต การย่อยอาหาร
แมงดากับงานด้านการแพทย์
คาเวียร์ ไข่จากปลาที่ใกล้สูญพันธุ์
การตรวจโรคทางห้องปฏิบัติการและการนำไปใช้
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (2)
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (1)
ระบบข้อมูลสุขภาพสัตว์โลก
น้ำปลา ความอร่อยจากอดีตสู่ยุคใส่ใจสุขภาพ
โรคอุบัติใหม่ในสัตว์น้ำของประเทศไทยในอดีต
โรคอุบัติใหม่ไม่ไกลตัว Novel Coronavirus
เรื่องกุ้งกับโปรไบโอติก (2)
ความสำคัญของการรายงานการระบาดของโรคกับสุขภาพสัตว์น้ำ
ยกระดับ from farm-to-table ด้วยสี่เสาหลักด้านคุณภาพ
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (2)
คู่มือป้องกัน โรคโควิด-19
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (1)