ความขุ่นใส ความโปร่งใส
ReadyPlanet.com
ความขุ่นใส ความโปร่งใส

 

ความขุ่นใส (Turbidity) ของน้ำ เกิดจากสารแขวนลอยที่อยู่ในน้ำ เช่น อินทรีย์สาร ดิน ทราย สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก แพลงตอน แบคทีเรียหรือแร่ธาตุต่างๆ สะท้อนหรือขัดขวางการส่องผ่านของแสงในน้ำซึ่งปริมาณสารแขวนลอยที่มีมากน้อยต่างกันทำให้แสงสว่างสามารถส่องผ่านลงไปในน้ำได้มากน้อยต่างกัน ทั้งนี้ความขุ่นของน้ำนั้นอาจไม่สัมพันธ์กับปริมาณสารแขวนลอยที่อยู่ในน้ำเสมอไปเพราะความสามารถในการดูดกลืน ขัดขวางหรือสะท้อนแสงของสารแขวนลอยแต่ละประเภทมีความแตกต่างกันกรณีที่น้ำมีความขุ่นไม่เหมาะสมจะมีผลต่อการสังเคราะห์แสงของพืชน้ำและแพลงตอนในบางครั้งอาจพบว่าปริมาณสารแขวนลอยในน้ำที่มีมากเกินจะมีผลต่อระบบการหายใจของปลาโดยสารแขวนลอยอาจไปเกาะซี่เหงือกและทำให้ประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลงสังเกตได้จากการตรวจซี่เหงือกว่ามีความสกปรกหรือไม่การวัดความขุ่นของน้ำนั้น วัดจากความเข้มข้นของแสงที่ผ่านลงไปในน้ำ แต่โดยทั่วไปแล้วฟาร์มนิยมวัดความโปร่งใส (Transparency) มากกว่าความขุ่นเนื่องจากง่ายต่อการปฏิบัติงานมากกว่าการวัดค่าความโปร่งใสทำได้โดยใช้แผ่นวงกลม (Secchi disc) ทาสีขาว-ดํา เส้นผ่านศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร จุ่มลงไปในบ่อจนมองไม่เห็นแผ่นความโปร่งใสที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงปลานิลจะอยู่ประมาณ 30-60 เซนติเมตร ถ้ามีค่าน้อยกว่า 30 เซนติเมตร หมายถึงมีปริมาณแพลงตอนสูงเกินไปหากแพลงตอนตายอาจทำให้เกิดภาวะขาดแคลนออกซิเจนได้หรือปริมาณแพลงตอนสูงอาจไปขัดขวางไม่ให้แสงส่องผ่านและพืชน้ำรวมทั้งแพลงตอนพืชไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้อย่างมีประสิทธิภาพการแก้ไขอาจใส่สารส้มเพื่อให้สารอินทรีย์บางประเภทตกตะกอนแต่การใช้สารส้มนั้นต้องคำนึงถึงค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ำด้วยเนื่องจากสารส้มจะไปลดความเป็นด่างทำให้น้ำเป็นกรดมากขึ้น ถ้ามีค่าความโปร่งแสงมากกว่า 60 เซนติเมตรขึ้นไปอาจเกิดจากความไม่สมบูรณ์ของอินทรียสารและพืชน้ำสามารถแก้ไขได้โดยเพิ่มสารอินทรีย์ลงในน้ำ เช่น ปุ๋ยคอก ฟาง โดยปริมาณและประสิทธิภาพของการใส่สารอินทรีย์ลงในน้ำจะแตกต่างกันขึ้นกับคุณภาพน้ำและอาจใช้เวลาไม่เท่ากันในการปรับค่าคุณสมบัติดังกล่าวของน้ำ


สัตวแพทย์หญิง ดร.มินตรา ลักขณา (หมอเม)
อ.น.สพ.ดร. ภัทรพล เปี่ยมสมบูรณ์ (หมอเอก) 

 

Turbidity of water is caused by suspended solid and ultra-fine colloidal particles presenting in water, such as organic matters, soil, sand, plankton, bacteria and minerals. These particles reduce light penetration into the water.

If turbidity is too high, it will interfere with photosynthesis activities of all plants and plankton. Sometimes, too dense particles also interfere with fish’s breathing, as these particles attach to the gill, blocking gas exchange. You can observe this by looking at the gill, if there are any dirt accumulation.

Turbidity of water is determined by measuring 
“Transparency” of water using Secchi disc attached to a pole (20 cm diameter disc, painted black and white). Secchi disc is lowered into the pond until it can no longer be seen and records the depth.

Water transparency for tilapia culture should be maintained 
at 30-60 cm. If transparency is less than 30 cm, it may indicate large amount of plankton present in the water (algae bloom). This is risky because a lot of algae might die off at the same time and result in sharp drop of O 2 in the pond. Also, high density of algae can reduce photosynthesis by lowering light density in the pond.

Alum (aluminium sulfate), hydrated lime (calcium hydroxide) and gypsum (calcium sulfate) are commonly used for reducing turbidity. Several studies found that alum is more effective than those two, and also cheaper. However, alum should not be applied to pond with low total alkalinity because it may reduce pH to a toxic level.

What if water transparency is more than 60 cm?

This could mean that nutrient in the water is not sufficient for plants and plankton to grow. This can be fixed by adding nutrient sources to the pond, such as fertilized, manure and straw.

 

Mintra Lukkana, DVM, MSc, PhD
Pathradol Piamsomboon , DVM , PhD




  




Farm story

วิตามินซีคนทานได้ ปลากินดี
งานวิจัย ขิง กับ ยากำจัดวัชพืช
โปรไบโอติกแบบ multi-species
ขมิ้นชันในอาหารปลานิล
อาหารสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ปลาเสมือนจริงทดแทนการใช้สัตว์ทดลอง
การใช้สมุนไพรเป็นยาสลบกับปลาเรนโบว์เทราต์
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (3/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (2/3)
การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสัตว์น้ำโดยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (1/3)
ความสัมพันธ์ของพยาธิตืดในปลากับแบคทีเรียตัวร้าย
โปรตีนจากเคยและการเลี้ยงกุ้ง
Nutraceuticals และการรักษาโรค AGD ในปลาแซลมอน
การป้องกันดีกว่าการรักษา วัคซีนคุณภาพ หยุดการระบาดของโรคสัตว์
nanobubbles และการเพาะเลี้ยงกุ้ง
nanobubbles
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #2
Black soldier fly แหล่งโปรตีนย่อยง่ายในอาหารสัตว์น้ำ #1
ยีสต์ทำขนมปังกับโปรไบโอติก
จุลินทรีย์ในลำไส้ปลา
ผลกระทบของ Covid19 ต่อตลาดปลาเทอร์บอตและคาเวียร์ของสหภาพยุโรป
โปรตีนทางเลือกกับปัญหาโรค EMS ในการเลี้ยงกุ้ง
"แมลงกับอุสาหกรรมอาหารสัตว์เลี้ยง"
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #10
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #9
การสนับสนุนความยั่งยืนในการประมง
กระแสความต้องการประมงยั่งยืน โอกาสและความท้าทายสำหรับปลานิล
African swine fever
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #8
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #7
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #6
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #5
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #4
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #3
พืชสมุนไพรกับสุขภาพปลา
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #2
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE #1
ความปลอดภัยทางชีวภาพในสถานประกอบการสัตว์น้ำของ OIE
ปลาแซลมอน ในอาร์เจนตินา
โปรตีนทางเลือก
กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนประชาคมระหว่างประเทศในการพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ และสวัสดิภาพสัตว์น้ำของ OIE
ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสุขภาพสัตว์ของ OIE
อาหารในโลกอนาคต
โปรไบโอติก Bacillus pumilus กับวิบริโอ
probiotic กับสารสกัดอินทผลัม
การยึดเกาะของโปรไบโอติก
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่งและเรื่องที่ควรทำหลังขนส่ง
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การวางแผนการขนส่ง (1)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (2)
ข้อกำหนดเกี่ยวกับสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์น้ำ: การขนส่ง (1)
“อาหารปลอดภัย” “สิ่งแวดล้อม” “สวัสดิภาพสัตว์” กับการเลี้ยงสัตว์ปัจจุบัน
เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว Bio-Circular-Green Economy : ภาคการเกษตร
การให้ probiotic ชนิด Bacillus cereus และ Bacillus subtilis ผสมอาหารปลานิล ที่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโต สุขภาพของลำไส้ และความต้านทานต่อการติดเชื้อ Streptococcus agalactiae
การใช้ probiotics prebiotics และ synbiotics ในปลานิล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโต และการป้องกันการติดเชื้อ Aeromonas hydrophila
ปลานิลและซินไบโอติก
ปลาเทราต์กับซินไบโอติก
การฆ่าเชื้อโรคอุปกรณ์ส่วนตัว และน้ำ
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (3)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ข้อควรคำนึงถึงในการฆ่าเชื้อสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
วัคซีน Covid-19 หนึ่งในวิธีป้องกันโรค
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
ประเภทของสารฆ่าเชื้อในสถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรคกรณีฉุกเฉิน และการเลือกใช้สารฆ่าเชื้อ
การวางแผนการฆ่าเชื้อโรค ในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์
ซินไบโอติกกับแบคทีเรียประจำถิ่นในลำไส้กุ้งกุ้ง
ซินไบโอติกกับภูมิคุ้มกันของกุ้ง
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (2)
การฆ่าเชื้อโรคในสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ฟาร์ม และอุปกรณ์ (1)
คำแนะนำสำหรับการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อบนพื้นผิวไข่ปลาแซลมอน
การประเมินโปรไบโอติก
การควบคุมเพศในสัตว์น้ำผ่านการจัดการชุดโครโมโซม
แอบดูจีนเลี้ยงกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำความรู้จัก…เปปไทด์ต้านจุลชีพ
โลกยุค 4.0 กับการเฝ้าระวังโรค
วิเคราะห์ข่าว หมู ไก่
อาหารสัตว์และเรื่องของสารพิษจากเชื้อรา
ซินไบโอติก (Synbiotics) สำหรับสัตว์น้ำ
ระบบนิเวศของแบคทีเรียในบ่อกุ้งกับโปรไบโอติก
ทำไมสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์จึงไม่มีรายงานความเสี่ยงต่อไวรัส COVID-19
น้องใหม่ตัวร้ายไวรัสในกุ้ง Decapod Iridescent Virus 1 (DIV1)
ต้านวิบริโอด้วยโปรไบโอติก
ก้งุ โปรไบโอติก การเจริญเติบโต การย่อยอาหาร
แมงดากับงานด้านการแพทย์
คาเวียร์ ไข่จากปลาที่ใกล้สูญพันธุ์
การตรวจโรคทางห้องปฏิบัติการและการนำไปใช้
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (2)
E-commerce พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับสินค้าสัตว์น้ำผ่านหลัก 7P (1)
ระบบข้อมูลสุขภาพสัตว์โลก
น้ำปลา ความอร่อยจากอดีตสู่ยุคใส่ใจสุขภาพ
โรคอุบัติใหม่ในสัตว์น้ำของประเทศไทยในอดีต
โรคอุบัติใหม่ไม่ไกลตัว Novel Coronavirus
เรื่องกุ้งกับโปรไบโอติก (2)
ความสำคัญของการรายงานการระบาดของโรคกับสุขภาพสัตว์น้ำ
ยกระดับ from farm-to-table ด้วยสี่เสาหลักด้านคุณภาพ
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (2)
คู่มือป้องกัน โรคโควิด-19
ความลับของปลาเนื้อสีส้ม: เรื่องที่น่าสนใจของปลาแซลมอน (1)